กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.เขามีเกียรติ


“ คัดกรองสุขภาพกลุ่มเกษตรกรผู้มีภาวะเสี่ยงในการสัมผัสสารเคมี ”

ตำบลเขามีเกียรติ อำเภอสะเดา จังหวัดสงขลา

หัวหน้าโครงการ
นางบุหงา แก้วแจ่มจันทร์

ชื่อโครงการ คัดกรองสุขภาพกลุ่มเกษตรกรผู้มีภาวะเสี่ยงในการสัมผัสสารเคมี

ที่อยู่ ตำบลเขามีเกียรติ อำเภอสะเดา จังหวัดสงขลา จังหวัด สงขลา

รหัสโครงการ 63-L5245-1-04 เลขที่ข้อตกลง 11/2563

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 พฤษภาคม 2563 ถึง 30 กันยายน 2563


กิตติกรรมประกาศ

"คัดกรองสุขภาพกลุ่มเกษตรกรผู้มีภาวะเสี่ยงในการสัมผัสสารเคมี จังหวัดสงขลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลเขามีเกียรติ อำเภอสะเดา จังหวัดสงขลา

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.เขามีเกียรติ ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
คัดกรองสุขภาพกลุ่มเกษตรกรผู้มีภาวะเสี่ยงในการสัมผัสสารเคมี



บทคัดย่อ

โครงการ " คัดกรองสุขภาพกลุ่มเกษตรกรผู้มีภาวะเสี่ยงในการสัมผัสสารเคมี " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลเขามีเกียรติ อำเภอสะเดา จังหวัดสงขลา รหัสโครงการ 63-L5245-1-04 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 พฤษภาคม 2563 - 30 กันยายน 2563 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 13,310.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.เขามีเกียรติ เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลท่าโต้ ตำบลเขามีเกียรติ อำเภอสะเดา จังหวัดสงขลา มีจำนวนประชากรทั้งหมด 2,224 คน (ข้อมูล ณ วันที่ 1 พฤศจิกายน 2562) เป็นพื้นที่หนึ่งที่ประชากรส่วนใหญ่ประกอบอาชีพในภาคเกษตรกรรม โดยมีพื้นที่ที่ใช้ในการเกษตรมากถึงร้อยละ 80 ของพื้นที่ทั้งหมด ประกอบด้วยพื้นที่ทำสวนยางพารา ทำผลไม้ และสวนผัก การทำเกษตรของประชาชนในพื้นที่ยังมีการพึ่งพาสารเคมีในการกำจัดศัตรูพืช ในการทำการเกษตร ซึ่งผลกระทบของสารเคมีต่าง ๆ เหล่านี้เป็นอันตรายต่อสุขภาพมีพิษทั้งแบบเฉียบพลันและเรื้อรัง ตั้งแต่ระดับเล็กน้อยจนถึงรุนแรงถึงแก่ชีวิตขึ้นอยู่กับระดับความเข้มข้นความเป็นพิษและปริมาณที่ได้รับสารเคมีกำจัดศัตรูพืช หากเกษตรกรไม่มีความรู้ ความเข้าใจ ในการใช้สารเคมีต่าง ๆ เหล่านี้ เช่น พฤติกรรมการทำงานของเกษตรกรที่ไม่ถูกต้อง การสัมผัสสารเคมีโดยไม่ใช้ผ้าปิดจมูก ไม่สวมถุงมือ ใส่เสื้อผ้าที่ไม่ปกปิด และไม่สวมรองเท้าบูท เป็นต้น นอกจากนี้เกษตรกรสามารถสัมผัสสารเคมีโดยการรู้เท่าไม่ถึงการณ์ เช่น การสูดหรือดมสารเคมีเข้าไปและถังภาชนะบรรจุสารเคมีที่รั่วซึม ฉีดพ่นสวนทิศทางลมทำให้เสื้อผ้าเปียกชุ่มสารเคมี เป็นต้น เกษตรกรที่สัมผัสสารเคมีอาจส่งผลต่อสุขภาพทำลายอวัยวะภายในร่างกาย เช่น ตับ ไต ปอด สมอง ผิวหนัง ระบบประสาท ระบบสืบพันธุ์ และตาซึ่งก็ขึ้นอยู่กับว่า เราจะรับสารเคมีเข้าสู่ร่างกายทางใด และปริมาณมากน้อยเท่าใด ส่วนใหญ่แล้วการที่อวัยวะภายในร่างกายได้สะสมสารเคมีไว้จนถึงขีดที่ร่างกายไม่อาจทนได้จึงแสดงอาการต่าง ๆ ขึ้นมา เช่น โรคมะเร็ง โรคต่อมไร้ท่อ โรคเลือด และระบบภูมิคุ้มกันเป็นต้น สารเคมีต่าง ๆ เหล่านี้ยังส่งผลกระทบด้านสิ่งแวดล้อม เช่น ทำให้ระบบนิเวศน์จะเปราะบางลงไม่สามารถรักษาสมดุลทางธรรมชาติ การระบาดของศัตรูพืชนับวันจะรุนแรงและถึ่ขึ้น ดังนั้นโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลท่าโต้ ตำบลเขามีเกียรติ อำเภอสะเดา จังหวัดสงขลา จึงเล็งเห็นความสำคัญของสุขภาพเกษตรกร ผู้มีภาวะเสี่ยงในการสัมผัสสารเคมีในพื้นที่ ให้มีความรู้และเกิดความตระหนักถึงอันตราย ผลกระทบ ที่อาจส่งผลต่อสุขภาพของตนเองและสิ่งแวดล้อม พร้อมทั้งเป็นการเฝ้าระวังภาวะเสี่ยงให้แก่กลุ่มเกษตรกร เพื่อให้เกษตรกรมีสุขภาพที่ดีพึ่งตนเองได้ บริโภคอาหารที่ปลอดภัยต่อไป

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. 1. เพื่อให้เกษตรกรมีความรู้ความเข้าใจที่ถูกต้องในการใช้สารเคมี 2. เพื่อให้เกษตรกรได้รับการตรวจหาระดับปริมาณสารเคมีตกค้างในเลือด 3. เกษตรกรที่ตรวจพบสารเคมีตกค้างในเลือดได้รับการดูแลที่ถูกต้อง

กิจกรรม/การดำเนินงาน

    กลุ่มเป้าหมาย

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
    กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
    กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
    กลุ่มวัยทำงาน
    กลุ่มผู้สูงอายุ
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
    กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
    กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
    กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
    กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 90
    สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

    ผลที่คาดว่าจะได้รับ

    1. ผู้มีภาวะเสี่ยงจากการทำงานด้านการเกษตร ได้รับความรู้ ความเข้าใจ สามารถป้องกันอันตรายจากสารเคมี
    2. ผู้มีภาวะเสี่ยงจากการทำงานด้านการเกษตร ได้รับการคัดกรองความเสี่ยงทางสุขภาพและได้รับการรักษาที่ถูกต้อง

    ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

    วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
    ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
    กิจกรรมของโครงการ
    ผลผลิต*
    ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

    * ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
    ** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


    ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

    ผลการดำเนินโครงการ

    สรุปผลการดำเนินโครงการ

    ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
    บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
    บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
    ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

     

    ผลผลิตโครงการ

    วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
    1 1. เพื่อให้เกษตรกรมีความรู้ความเข้าใจที่ถูกต้องในการใช้สารเคมี 2. เพื่อให้เกษตรกรได้รับการตรวจหาระดับปริมาณสารเคมีตกค้างในเลือด 3. เกษตรกรที่ตรวจพบสารเคมีตกค้างในเลือดได้รับการดูแลที่ถูกต้อง
    ตัวชี้วัด : 1. เกษตรกรมีความรู้ความเข้าใจในการใช้สารเคมี ร้อยละ 80 2. เกษตรกรได้รับการตรวจหาระดับปริมาณสารเคมีจำนวน 100 คน 3. ผลการตรวจเลือดเกษตรกรที่ตรวจพบสารตกค้างในเลือดน้อยลง ร้อลละ 50
    0.00

     

    ผู้เข้าร่วมโครงการ

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 90
    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
    กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
    กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
    กลุ่มวัยทำงาน -
    กลุ่มผู้สูงอายุ -
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
    กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
    กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
    กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
    กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 90
    สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

    บทคัดย่อ*

    โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) 1. เพื่อให้เกษตรกรมีความรู้ความเข้าใจที่ถูกต้องในการใช้สารเคมี  2. เพื่อให้เกษตรกรได้รับการตรวจหาระดับปริมาณสารเคมีตกค้างในเลือด  3. เกษตรกรที่ตรวจพบสารเคมีตกค้างในเลือดได้รับการดูแลที่ถูกต้อง

    ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่

    ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

    หมายเหตุ *

    • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
    • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

    ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

    ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

     

     

     


    คัดกรองสุขภาพกลุ่มเกษตรกรผู้มีภาวะเสี่ยงในการสัมผัสสารเคมี จังหวัด สงขลา

    รหัสโครงการ 63-L5245-1-04

    ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

    ................................
    ( นางบุหงา แก้วแจ่มจันทร์ )
    ผู้รับผิดชอบโครงการ
    ......./............/.......

    vertical_align_topไปบนสุด