กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.สะดาวา


“ ยิ้มสู้โรคโควิด เฝ้าระวังพิษโรคร้าย ”

ตำบลสะดาวา อำเภอยะรัง จังหวัดปัตตานี

หัวหน้าโครงการ
นางสาวจัสมิล มุมินรุ่งเรืองเดช

ชื่อโครงการ ยิ้มสู้โรคโควิด เฝ้าระวังพิษโรคร้าย

ที่อยู่ ตำบลสะดาวา อำเภอยะรัง จังหวัดปัตตานี จังหวัด ปัตตานี

รหัสโครงการ เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 13 พฤษภาคม 2563 ถึง 31 กรกฎาคม 2563


กิตติกรรมประกาศ

"ยิ้มสู้โรคโควิด เฝ้าระวังพิษโรคร้าย จังหวัดปัตตานี" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลสะดาวา อำเภอยะรัง จังหวัดปัตตานี

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.สะดาวา ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
ยิ้มสู้โรคโควิด เฝ้าระวังพิษโรคร้าย



บทคัดย่อ

โครงการ " ยิ้มสู้โรคโควิด เฝ้าระวังพิษโรคร้าย " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลสะดาวา อำเภอยะรัง จังหวัดปัตตานี รหัสโครงการ ระยะเวลาการดำเนินงาน 13 พฤษภาคม 2563 - 31 กรกฎาคม 2563 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 150,000.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.สะดาวา เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

จากสถานการณ์การระบาดของโรคไวรัสโคโรนา 19 (COVID-19) ของจังหวัดปัตตานีในปัจจุบัน ผู้ติดเชื้อมีจำนวนลดลงเรื่อยๆ โดยขณะนี้มีผู้ติดเชื้อในจังหวัดปัตตานี เพียง 2 ราย และมีแนวโน้มรักษาหายจนไม่เหลือผู้ติดเชื้อในจังหวัดปัตตานีอีกในไม่ช้า แม้ว่าสถานการณ์การระบาดของโรคจะเข้าสู่ภาวะปกติ ภาครัฐและภาคประชาชนก็ยังไม่สามารถนิ่งเฉยต่อสถานการณืดังกล่าว ควรมีมาตรการเพื่อป้องกันการระบาดเพิ่ม ด้วยเหตุนี้ การกักตัวเพื่อเฝ้าระวังอาการกลุ่มเสี่ยงจึงยังคงดำเนินต่อไป จนกว่าสถานการณ์จะปกติ
การเฝ้าระวังป้องกันและควบคุมโรคไวรัสโคโรนา 19 (COVID-19) นั้น นอกจากการให้ความรู้แก่ประชาชนในพื้นที่แล้ว การรณรงค์ให้ประชาชนในพื้นที่เกิดความตระหนักและการสนับสนุนอุปกรณ์สำหรับป้องกันโรคนับเป็นสิ่งจำเป็นเพื่อให้เกิดการดูแลเฝ้าระวังป้องกันตนเองและกักบริเวณในสถานที่ควบคุมบริเวณ (Local Quarantine) ได้อย่างมีประสิทธิภาพ ซึ่งขณะนี้การกักตัวของกลุ่มเสี่ยงมีมาอย่างต่อเนื่อง ทำให้ขาดแคลนอุปกรณืที่จำเป็นดังกล่าว ด้วยเหตุนี้ กองสาธารณสุขและสิ่งแวดล้อม องค์การบริหารส่วนตำบลสะดาวา ซึ่งรับผิดชอบดูแลเกี่ยวกับภาวะฉุกเฉินด้านสาธารณสุข ตามพระราชบัญญัติสภาตำบลและองค์การบริหารส่วนตำบล พ.ศ. 2537 และที่ให้แก้ไขเพิ่มเติม มาตรา 67 (3) บัญญัติให้องค์การบริหารส่วนตำบลมีหน้าที่ในการป้องกันดรคและระงับโรคติดต่อ ประกอบกับ พระราชบัญญัติกำหนดแผนและขั้นตอนการกระจายอำนาจให้แก่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น พ.ศ. 2542 มาตรา 16 (19) เทศบาล และองค์การบริหารส่วนตำบลมีหน้าที่ในการสาธารณสุข การอนามัยครอบครัวและการรักษาพยาบาล จึงต้องมีการตอบโต้ต่อสถานการณ์โรคไวรัสโคโรนา 19 (COVID-19) ให้ทันต่อ เพื่อลดผลกระทบต่อสุขภาพประชาชนตลอดจนป้องกันไม่ให้เกิดการแพร่ระบาดของโรคในวงกว้าง โดยจัดทำโครงการยิ้มสู้โรคโควิด เฝ้าระวังพิษโรคร้าย ขึ้น

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อให้มีทรัพยากร งบประมาณ พอเพียงต่อการสนับสนุนการดำเนินงานเฝ้าระวัง สอบสวนและควบคุมโรคไวรัสโคโรนา 19 (COVID-19)
  2. เพื่อให้กลุ่มเสี่ยงในการติดเชื้อของโรคไวรัสโคโรนา 2019 ได้กักบริเวณเพื่อควบคุมการแพร่ระบาดของโรค

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. กิจกรรมสนับสนุนอุปกรณ์/เครื่องใช้เพื่อป้องกันการแพร่ระบาดของโรคสำหรับ Local quarantine

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

  1. ประชาชนในพื้นที่อบต. สะดาวา ได้การป้องกันการติดเชื้อจากโรคติดต่อ
  2. การดำเนินงานตอบโต้ภาวะฉุกเฉินทางสาธารณสุขเป็นระบบ ชัดเจน มีประสิทธิภาพ

ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

1. กิจกรรมสนับสนุนอุปกรณ์/เครื่องใช้เพื่อป้องกันการแพร่ระบาดของโรคสำหรับ Local quarantine

วันที่ 5 ตุลาคม 2563

กิจกรรมที่ทำ

การจัดเตรียมสถานที่ควบคุมและสังเกตอาการประจำตำบลสะดาวา (Local Quarantine) และอุปกรณ์ เครื่องมือเครื่องใช้ในการควบคุมการแพร่ระบาดของโรค

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

  • สถานที่ควบคุมและสังเกตอาการประจำตำบลสะดาวา (Local Quarantine) มีอุปกรณ์ เครื่องมือเครื่องใช้ในการควบคุมการแพร่ระบาดของโรค

 

0 0

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เพื่อให้มีทรัพยากร งบประมาณ พอเพียงต่อการสนับสนุนการดำเนินงานเฝ้าระวัง สอบสวนและควบคุมโรคไวรัสโคโรนา 19 (COVID-19)
ตัวชี้วัด :
0.00

 

2 เพื่อให้กลุ่มเสี่ยงในการติดเชื้อของโรคไวรัสโคโรนา 2019 ได้กักบริเวณเพื่อควบคุมการแพร่ระบาดของโรค
ตัวชี้วัด :
0.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 0
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อให้มีทรัพยากร งบประมาณ พอเพียงต่อการสนับสนุนการดำเนินงานเฝ้าระวัง สอบสวนและควบคุมโรคไวรัสโคโรนา 19 (COVID-19) (2) เพื่อให้กลุ่มเสี่ยงในการติดเชื้อของโรคไวรัสโคโรนา 2019 ได้กักบริเวณเพื่อควบคุมการแพร่ระบาดของโรค

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) กิจกรรมสนับสนุนอุปกรณ์/เครื่องใช้เพื่อป้องกันการแพร่ระบาดของโรคสำหรับ Local quarantine

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


ยิ้มสู้โรคโควิด เฝ้าระวังพิษโรคร้าย จังหวัด ปัตตานี

รหัสโครงการ

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นางสาวจัสมิล มุมินรุ่งเรืองเดช )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด