กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลทุ่งลาน


“ โครงการพัฒนาระบบการดำเนินงานดูแลระยะยาวสำหรับผู้ที่มีภาวะพึ่งพิง ”

ตำบลทุ่งลาน อำเภอคลองหอยโข่ง จังหวัดสงขลา

หัวหน้าโครงการ

ชื่อโครงการ โครงการพัฒนาระบบการดำเนินงานดูแลระยะยาวสำหรับผู้ที่มีภาวะพึ่งพิง

ที่อยู่ ตำบลทุ่งลาน อำเภอคลองหอยโข่ง จังหวัดสงขลา จังหวัด สงขลา

รหัสโครงการ 16/60 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 25 พฤษภาคม 2560 ถึง 31 กรกฎาคม 2560


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการพัฒนาระบบการดำเนินงานดูแลระยะยาวสำหรับผู้ที่มีภาวะพึ่งพิง จังหวัดสงขลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลทุ่งลาน อำเภอคลองหอยโข่ง จังหวัดสงขลา

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลทุ่งลาน ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการพัฒนาระบบการดำเนินงานดูแลระยะยาวสำหรับผู้ที่มีภาวะพึ่งพิง



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการพัฒนาระบบการดำเนินงานดูแลระยะยาวสำหรับผู้ที่มีภาวะพึ่งพิง " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลทุ่งลาน อำเภอคลองหอยโข่ง จังหวัดสงขลา รหัสโครงการ 16/60 ระยะเวลาการดำเนินงาน 25 พฤษภาคม 2560 - 31 กรกฎาคม 2560 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 8,000.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลทุ่งลาน เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

หลักการและเหตุผล (ระบุที่มาของการทำโครงการ)
การเปลี่ยนแปลงโครงสร้างประชากรของไทยที่เกิดขึ้นอย่างรวดเร็วในช่วงทศวรรษ 3 – 4 ทศวรรษที่ผ่านมา ทำให้ประเทศเข้าสู่การเป็นสังคมผู้สูงวัย ตั้งแต่ประมาณปี 2543 – 2544 คือ มีประชากรอายุ 60 ปี คิดเป็นสัดส่วนมากกว่าร้อยละ 10 ของประชากรทั้งหมด และผลสำรวจของสำนักงานสถิติแห่งชาติ4 ครั้งที่ผ่านมา พบว่าประเทศไทยมีจำนวนและสัดส่วนของผู้สูงอายุเพิ่มขึ้นอย่างรวดเร็วและต่อเนื่อง โดยในปี 2537 มีจำนวนผู้สูงอายุคิดเป็นร้อยละ 6.8 ของประชากรทั้งประเทศ และเพิ่มขึ้นเป็นร้อยละ 9.4 ร้อยละ 10.7 ร้อยละ 12.2 ในปี 2545, 2550, 2554 ตามลำดับ และรายงานเบื้องต้นการสำรวจประชากรสูงอายุในประเทศไทย พ.ศ. 2557 พบว่า ประเทศไทยมีจำนวนผู้สูงอายุทั้งสิ้น 10,014,699 คน เป็นเพศชาย 4,514,812 คน และเพศหญิง 5,499,887 คน หรือคิดเป็นชายร้อยละ 45.1 และหญิงร้อยละ 54.9 ของผู้สูงอายุทั้งหมด และเป็นร้อยละ 14.9 ของประชากรทั้งหมด ภาวะสุขภาพโดยรวมจากการให้ผู้สูงอายุประเมินภาวะสุขภาพทั่วๆไปโดยรวมของตนเอง ในระหว่าง 7 วันก่อนวันสัมภาษณ์ พบว่า ร้อยละ 40.5 ของผู้สูงอายุประเมินว่า ตนเองมีสุขภาพปานกลาง ร้อยละ 36.9 ประเมินว่าตนเองมีสุขภาพดีและร้อยละ 3.6 ประเมินว่าตนเองมีสุขภาพดีมาก ผู้สูงอายุที่ประเมินตนเองว่ามีสุขภาพไม่ดี มีร้อยละ 16.4 และมีเพียงร้อยละ 2.6 ที่ประเมินว่าตนเองมีสุขภาพไม่ดีมากๆ เมื่อพิจารณาตามกลุ่มช่วงวัย พบว่า ผู้สูงอายุวัยต้นประเมินว่า ตนเองมีสุขภาพดีมากในสัดส่วนที่สูงกว่าผู้สูงอายุวัยกลางและวัยปลาย (ร้อยละ 45.2 ร้อยละ 29.8 และร้อยละ 18.6 ตามลำดับ) สัดส่วนของผู้สูงอายุชายประเมิน ตนเองว่ามีภาวะสุขภาพดีมากสูงกว่าผู้สูงอายุหญิง (ร้อยละ 40.4 และร้อยละ 34.1 ตามลำดับ)ข้อมูลจำนวนผู้สูงอายุจังหวัดสงขลา จากการสำรวจและคัดกรองสุขภาพผู้สูงอายุจังหวัดสงขลา มีผู้สูงอายุอาศัยอยู่ในจังหวัดสงขลา จำนวน 155,479 คน พบว่าเป็นผู้สูงอายุกลุ่มติดสังคม จำนวน 119,265 คน (ร้อยละ 76.71) กลุ่มติดบ้าน จำนวน 9,930 คน (ร้อยละ 6.38 ) และกลุ่มติดเตียง จำนวน 1,653 คน (ร้อยละ 1.06) และในกลุ่มที่มีภาวะพึ่งพิงที่ไม่ใช่กลุ่มผู้สูงอายุที่ต้องได้รับการค้นหาเพิ่มเติม ในปีงบประมาณ 2559 รัฐบาลมุ่งเน้นในการดูแลผู้สูงอายุที่มีภาวะพึ่งพิง ทั้งกลุ่มติด บ้าน และกลุ่มติดเตียง โดยสนับสนุนงบประมาณเพิ่มเติมจากงบเหมาจ่ายรายหัวปกติในระบบ หลักประกันสุขภาพถ้วนหน้า จํานวน 600 ล้านบาท ให้แก่สํานักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ (สปสช.) เพื่อบริหารจัดการให้ผู้สูงอายุกลุ่มที่มีภาวะพึ่งพิงจํานวนประมาณ 100,000 ราย ครอบคลุมร้อยละ 10 ของกลุ่มเป้าหมายและพื้นที่ และจะขยายงบประมาณให้ครอบคลุม กลุ่มเป้าหมายให้เต็มพื้นที่ภายใน 3 ปีซึ่งอำเภอคลองหอยโข่ง ได้กำหนดพื้นที่ดำเนินการ ในเรื่องการจัดการระบบการดูแลระยะยาวด้านสาธารณสุขสำหรับผู้สูงอายุที่มีภาวะพี่งพิง Long term care ในพื้นที่ ตำบลโคกม่วง ตำบลคลองหลาและตำบลทุ่งลาน มีผู้สูงอายุ กลุ่มติดบ้านติดเตียง จำนวน20ราย และ10 ราย และ17 ราย ตามลำดับ ปัญหาผู้สูงอายุกลุ่มติดบ้าน ติดเตียง หรือผู้ที่มีภาวะพึ่งพิง คือการเข้าถึงระบบบริการสุขภาพด้วยความยากลำบาก และในการดำเนินชีวิตประจำวันต้องพึ่งพาผู้ดูแล ซึ่งบางคนขาดคนดูแลและพักอาศัยอยู่โดยลำพัง ในสภาพแวดล้อมที่ไม่เหมาะสม เพื่อให้เกิดความร่วมมือร่วมใจในการดูแลของชุมชนในการออกเยี่ยมดูแลสุขภาพทั้งด้านร่างกาย จิตใจ สังคม โดยเฉพาะในกลุ่มผู้สูงอายุที่อยู่ในภาวะที่ต้องได้รับการดูแล จึงต้องมีการพัฒนาระบบการดำเนินงานดูแลระยะยาวสำหรับผู้ที่มีภาวะพึ่งพิง เพื่อให้กลุ่มเป้าหมายมีสุขภาวะที่ดี หรือมีสุขภาพดีขึ้น สามารถดำเนินชีวิตประจำวันได้โดยพึ่งพาน้อยที่สุด ซึ่งจะทำให้ผู้สูงอายุหรือผู้มีภาวะพึ่งพิงรู้สึกมีคุณค่า มีศักดิ์ศรี และมีความสุข ดังนั้นการเตรียมการเพื่อรองรับสภาพปัญหาของผู้มีภาวะพึ่งพิงจึงเป็นประเด็นสำคัญของอำเภอคลองหอยโข่ง จังหวัดสงขลา สำนักงานสาธารณสุขอำเภอคลองหอยโข่งและโรงพยาบาลคลองหอยโข่งตระหนักถึงความสำคัญในการพัฒนาคุณภาพชีวิตของประชาชนโดยเฉพาะกลุ่มที่มีภาวะพึ่งพิง จึงได้จัดทำโครงการพัฒนาระบบการดำเนินงานดูแลระยะยาวสำหรับผู้ที่มีภาวะพึ่งพิงอำเภอคลองหอยโข่ง จังหวัดสงขลา ประจำปีงบประมาณ 2560ขึ้น
ในส่วนของตำบลทุ่งลานเป็นพื้นที่เป้าหมาย ในการดำเนินการ Long Term Care พ.ศ. 2559 ซึ่งได้มีการดำเนินการในการจัดอบรม Care Manager และ Care Giver ของพื้นที่แล้วแต่เนื่องจากจำนวน Care Giver ที่เข้ารับการอบรมบางส่วนไม่สามารถปฏิบัติงานได้ เพื่อให้เป็นไปตามกระบวนการดำเนินงาน Long Term Care ของพื้นตำบลทุ่งลาน จึงได้ส่งบุคลากรเข้าอบรม Care Giverจำนวน 3 คน เพื่อปฏิบัติงานดูแลผู้สูงอายุที่มีภาวะพึ่งพิงตามเป้าหมายต่อไป

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. วัตถุประสงค์ 1. เพื่อให้ผู้สูงอายุที่อยู่ในภาวะพึ่งพิงได้รับการดูแลจากทีมสหสาขาวิชาชีพ ของหน่วยบริการปฐมภูมิและเครือข่ายโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพระดับตําบล โดยการมี ส่วนร่วมของครอบครัว ชุมชนและท้องถิ่น 2. มีผู้ดูแลผู้สูงอายุ(Caregiver) ที่ผ่านการอบรมหลักสูตร 70 ชั่วโมง ร่วมให้การดูแลผู้สูงอายุที่อยู่ในภาวะพึ่งพิงที่บ้าน 3. มี Caremanager เป็นผู้บริหารจัดการการดูแลผู้ป่วยรายกรณี และมีการประสานงานการดูแลร่วมกับท้องถิ่นในพื้นที่เป้าหมาย ส่งผลให้ผู้สูงอายุมีคุณภาพชีวิตที่ดีขึ้น

กิจกรรม/การดำเนินงาน

    กลุ่มเป้าหมาย

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
    กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
    กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
    กลุ่มวัยทำงาน 3
    กลุ่มผู้สูงอายุ
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
    กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
    กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
    กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
    กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
    สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

    ผลที่คาดว่าจะได้รับ

    ผลที่คาดว่าจะได้รับ 1. เกิดระบบบริการดูแลระยะยาวสำหรับผู้ที่มีภาวะพึ่งพิง และผู้มีภาวะพึ่งพิงได้เข้าถึงบริการสุขภาพที่มีคุณภาพ และมีคุณภาพชีวิตที่ดีขึ้น 2. บุคลากรในการดูแลระยะยาวมีความรู้ ความเข้าใจ เรื่องการดูแลสุขภาพกาย สุขภาพจิต สังคม และสิ่งแวดล้อม สามารถปฏิบัติต่อผู้ที่มีภาวะพึ่งพิงได้อย่างถูกต้องและมีประสิทธิภาพ


    ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

    วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
    ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
    กิจกรรมของโครงการ
    ผลผลิต*
    ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

    * ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
    ** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


    ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

    ผลการดำเนินโครงการ

    สรุปผลการดำเนินโครงการ

    ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
    บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
    บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
    ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

     

    ผลผลิตโครงการ

    วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
    1 วัตถุประสงค์ 1. เพื่อให้ผู้สูงอายุที่อยู่ในภาวะพึ่งพิงได้รับการดูแลจากทีมสหสาขาวิชาชีพ ของหน่วยบริการปฐมภูมิและเครือข่ายโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพระดับตําบล โดยการมี ส่วนร่วมของครอบครัว ชุมชนและท้องถิ่น 2. มีผู้ดูแลผู้สูงอายุ(Caregiver) ที่ผ่านการอบรมหลักสูตร 70 ชั่วโมง ร่วมให้การดูแลผู้สูงอายุที่อยู่ในภาวะพึ่งพิงที่บ้าน 3. มี Caremanager เป็นผู้บริหารจัดการการดูแลผู้ป่วยรายกรณี และมีการประสานงานการดูแลร่วมกับท้องถิ่นในพื้นที่เป้าหมาย ส่งผลให้ผู้สูงอายุมีคุณภาพชีวิตที่ดีขึ้น
    ตัวชี้วัด : ตัวชี้วัดความสำเร็จ 1.จำนวน Care giver ผ่านการอบรม ร้อยละ 90 2.กลุ่มผู้มีภาวะพึ่งพิงได้รับบริการตามชุดสิทธิประโยชน์ ร้อยละ 100 3.กลุ่มผู้มีภาวะพึ่งพิงได้รับการจัดการวางแผนการดูแล (Care Plan) ร้อยละ 100 4.ร้อยละ๑๐๐ ของผู้สูงอายุที่มีภาวะพึงพิงเข้าถึงระบบบริการสุขภาพ 5. สัดส่วนผู้ช่วยเหลือดูแลผู้สูงอายุเมื่อเทียบกับจำนวนผู้สูงอายุกลุ่มเป้าหมายทั้งหมดไม่เกิน๑:๑๐ 6. จํานวนผู้สูงอายุที่มีภาวะพึ่งพิงที่ได้รับการดูแลตามแผนการดูแลรายบุคคล (Care plan) ที่มีระดับคะแนน ADL ดีขึ้นจากกลุ่มติดเตียงเป็นติดบ้านและกลุ่มติดบ้านเป็น กลุ่มติดสังคม

     

    2
    ตัวชี้วัด :

     

    ผู้เข้าร่วมโครงการ

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 3
    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
    กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
    กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
    กลุ่มวัยทำงาน 3
    กลุ่มผู้สูงอายุ -
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
    กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
    กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
    กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
    กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
    สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

    บทคัดย่อ*

    โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) วัตถุประสงค์ 1. เพื่อให้ผู้สูงอายุที่อยู่ในภาวะพึ่งพิงได้รับการดูแลจากทีมสหสาขาวิชาชีพ ของหน่วยบริการปฐมภูมิและเครือข่ายโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพระดับตําบล โดยการมี ส่วนร่วมของครอบครัว ชุมชนและท้องถิ่น 2. มีผู้ดูแลผู้สูงอายุ(Caregiver) ที่ผ่านการอบรมหลักสูตร 70 ชั่วโมง ร่วมให้การดูแลผู้สูงอายุที่อยู่ในภาวะพึ่งพิงที่บ้าน 3. มี Caremanager เป็นผู้บริหารจัดการการดูแลผู้ป่วยรายกรณี และมีการประสานงานการดูแลร่วมกับท้องถิ่นในพื้นที่เป้าหมาย ส่งผลให้ผู้สูงอายุมีคุณภาพชีวิตที่ดีขึ้น (2)

    ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่

    ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

    หมายเหตุ *

    • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
    • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

    ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

    ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

     

     

     


    โครงการพัฒนาระบบการดำเนินงานดูแลระยะยาวสำหรับผู้ที่มีภาวะพึ่งพิง จังหวัด สงขลา

    รหัสโครงการ 16/60

    ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

    ................................
    ( )
    ผู้รับผิดชอบโครงการ
    ......./............/.......

    vertical_align_topไปบนสุด