กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลบางแก้ว


“ โครงการชุมชนร่วมใจ ป้องกันภัยไข้เลือดออก ปี 2563 ”

อำเภอบางแก้ว จังหวัดพัทลุง

หัวหน้าโครงการ
นางจำนวล แป้นเนียม ประธานอาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้าน

ชื่อโครงการ โครงการชุมชนร่วมใจ ป้องกันภัยไข้เลือดออก ปี 2563

ที่อยู่ อำเภอบางแก้ว จังหวัดพัทลุง จังหวัด พัทลุง

รหัสโครงการ เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 เมษายน 2563 ถึง 31 กรกฎาคม 2563


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการชุมชนร่วมใจ ป้องกันภัยไข้เลือดออก ปี 2563 จังหวัดพัทลุง" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน อำเภอบางแก้ว จังหวัดพัทลุง

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลบางแก้ว ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการชุมชนร่วมใจ ป้องกันภัยไข้เลือดออก ปี 2563



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการชุมชนร่วมใจ ป้องกันภัยไข้เลือดออก ปี 2563 " ดำเนินการในพื้นที่ อำเภอบางแก้ว จังหวัดพัทลุง รหัสโครงการ ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 เมษายน 2563 - 31 กรกฎาคม 2563 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 14,950.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลบางแก้ว เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

ไข้เลือดออกเป็นปัญหาที่สำคัญของการสาธารณสุขระดับประเทศ เนื่องจากมีแนวโน้มการระบาดในช่วงฤดูผนของทุกปี โดยสร้างความสูญเสียต่อชีวิตและค่าใช้จ่ายในการรักษาพยาบาล สูญเสียทางด้านเศรษฐกิจของประเทศ และยังคงเป็นปัญหาสำคัญระดับประเทศเรื่อยมา   โรคไข้เลือดออกมีรายงานการระบาดในประเทศไทยมานานกว่า 60 ปี ข้อมูลจากสำนักโรคติดต่อนำโดยแมลง กรมควบคุมโรค กระทรวงสาธารณสุข สถานการณ์โรคไข้เลือดออก ปี 2562 ในภาพรวมทั้งประเทศ (ตั้งแต่วันที่ 1 มกราคม-21 ธันวาคม 2562) มีรายงานผู้ป่วยสะสม จำนวน 126,708 ราย (อัตรป่วยเท่ากับ 191.11 ต่อประชากรแสนคส) มีรายงานผู้ป่วยเสียชีวิต จำนวน 132 ราย อัตรราย เท่ากับ 0.20 ต่อประชากรแสนคน อัตราป่วยตาย ร้อยละ 0.10 ภาคที่มีอัตราป่วยสูงสุด คือ ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ(อัตราป่วย เท่ากับ 221.16 ต่อประชากรแสนคน) รองลงมา คือ ภาคกลาง(อัตราป่วยเท่ากับ 180.83 ต่อประชากรแสนคน) ภาคใต้(อัตราป่วย เท่ากับ 173.09 ต่อประชากรแสนคน) และภาคเหนือ(อัตราป่วยเท่ากับ 169.86 ต่อประชากรแสนคน) ตามลำดับ ผู้ป่วยส่วนใหญ่ในปีนี้พบในกลุ่มเด็กเล็ก เด็กวัยเรียน โดยพบยอดผู้ป่วยสูงสุดในเดือนกรกฎาคม(21.539ราย)   โดยตั้งแต่วันที่ 1 มกราคม-11 กุมภาพันธ์ 2563 พบมีผู้ป่วยสะสมแล้ว 3,283 รายโดยภาคที่มีอัตราป่วยสูงสุดคือ ภาคใต้ รองลงมาคือภาคกลาง ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ และภาคเหนือตามลำดับ (กรมควบคุมโรค เผยแพร่พยากรณ์โรคฯ ฉบับที่ 249) สำหรับจังหวัดพัทลุง ตั้งแต่ 1 มกราคม-16 ตุลาคม 2562 มีผู้ป่วย จำนวน 879 ราย คิดมีอัตราป่วย 167.44 ต่อแสนประชากร มีผู้เสียชีวิต 1 ราย เป็นอันดับที่ 22 ของประเทศ อำเภอเมืองพัทลุง มีผู้ป่วยทั้งหมด 310 คน คิดเป็นอัตรป่วย 255.44 ต่อแสนประชากร เป็นอันดับที่ 2 ของจังหวัด รองจากอำเภอตะโหมด (สำนักงานป้องกันควบคุมดรคที่ 12 สงขลา.2562) ซึ่งจากข้อมูลของศูนย์ระบาดอำเภอบางแก้ว พบว่าตั้งแต่ปี 2559 โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลท่ามะเดื่อ มีผู้ป่วยโรคไข้เลือดออก 2 ราย (อัตราป่วย 187.44 ต่อประชากรแสนคน) และในปี 2560 (1 มกราคม - 31 ธันวาคม 2560) มีผู้ป่วยโรคไข้เลือดออกแล้ว 3 ราย คิดเป็นอัตราป่วย 278.81 ต่อประชากรแสนคน นับว่าเป็นอัตราป่วยที่สูงมากเมือเปรียบเทียบกับระยะเวลาก่อนหน้าและปี 2561 -ปี 2562 ไม่พบผู้ป่วย   จากสถานการณ์ดังกล่าวกลุ่มอาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้านของโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านท่ามะเดื่อ ได้จัดทำโครงการ"ชุมชนร่วมใจ ป้องกันภัยไข้เลือดออก ปี 2563"เพื่อป้องกันและควบคุมการแพร่ระบาดของโรคไข้เลือดออกในเขต พื้นที่โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านท่ามะเดื่อโดยส่งเสริมให้ประชาชนมีส่วนร่วมในการแก้ไขปัญหาโรคไข้เลือดออกในพื้นที่ ได้อย่างต่อเนื่อง

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. 1.เพื่อส่งเสริมให้ประชาชนมีความรู้ความเข้าใจ ตระหนักและปฏิบัติในการป้องกันโรคไข้เลือดออกอย่างถูกต่อง 2.เพื่อส่งเสริมให้ประชาชนมีพฤติกรรม 5 ป 1 ข ที่ถูกต้อง 3.เพื่อให้ค่าดัชนีลูกน้ำยุงลายลดลง(HI,CI) 4.เพื่อให้อัตราป่วยเป็นศูนย์อย่างต่อเนื่อง

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. โครงการชุมชนร่วมใจ ป้องกันภัยไข้เลือดออกปี 2563

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

1.เกิดการเผ้าระวังการเกิดโรคไข้เลือดออกในพื้นที่ 2.ประชาชนมีความรู้ความเข้าใจ ตระหนัก และปฏิบัติตัวในการป้องกันโรคไข้เลือดออกอย่างถูกต้อง 3.ลดภาวะการติดเชื้อและป่วยด้วยโรคไข้เลือดออก ในหมู่ที่ 3 และหมู่ที่ 4 ต.ท่ามะเดื่อ อ.บางแก้ว
4.ลดแหล่งเพาะพันธู์ลูกน้ำยุงลาย 5.อัตราการป่วยด้วยโรคไข้เลือดออกเป็นศูนย์ 6.ชุมชนมีส่วนร่วมในการควบคุมป้องกันโรคไข้เลือกออก


ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

1. โครงการชุมชนร่วมใจ ป้องกันภัยไข้เลือดออกปี 2563

วันที่ 7 ตุลาคม 2563

กิจกรรมที่ทำ

1.จัดทำโครงการเพื่อขออนุมัติและขอสนับสนุนงบประมาณ 2.ประชุมชี้แจงโครงการแก่คณะทำงานเจ้าหน้าที่สาธารณสุข อสม.และแกนนำชุมชนพร้อมแต่งตั้งคณะทำงานชุมชน 3.ประชาสัมพันธ์เชิญชวนให้กลุ่มเป้าหมายเข้าร่วมโครงการ 4.จัดเตรียมวัสดุ อุปกรณ์ในการดำเนินงาน 5.ดำเนินกิจกรรมตามโครงการ -ให้ความรู้แก่ประชาชนในเขตรับผิดชอบโดยใช้หลัก 5 ป 1 ข -อบรมแกนนำครัวเรือนจำนวน 50 คน เรื่องการป้องกันตนเองและคนในครอบครัวจากโรคไช้เลือดออก -สุ่มตรวจบ้านโดยแกนนำชุมชน เพื่อสำรวจแหล่งเพาะพันธ์ุลูกน้ำยุงลายโดยการสุ่มบ้านเป้าหมายตามเขตรับผิดชอบของ อสม. เขตละ 1 หลังคาเรีอน เดือนละ 1 ครั้ง รวม 4 ครั้ง -สรุปผลการสุ่มสำรวจลูกน้ำยุงลายพร้อมคืนข้อมูลให้ชุมชนในวันประชุมประจำเดือน 6.ดำเนินกิจกรรมเฝ้าระวังพฤติกรรมการป้องกันโรคไข้เลือดออกในชุมชน 7.สรุปและรายงานผลการดำเนินโครงการ

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

1.เกิดการเฝ้าระวังการเกิดโรคไข้เลือดออกในพื้นที่ 2.ประชาชนมีความรู้ความเข้าใจ ตระหนัก และปฏิบัติตัวในการป้องกันโรคไข้เลือดออกอย่างถูกต้อง 3.ลดภาวะการติดเชื้อและป่วยด้วยโรคไข้เลือดออก ในหมู่ที่ 3และหมู่ที่ 4 ต.ท่ามะเดื่อ อ.บางแก้ว 4.ลดแหล่งเพาะพันธุ์ลูกน้ำยุงลาย 5.อัตราการป่วยด้วยโรคไข้เลือดออกเป็นศูนย์ 6.ชุมชนมีส่วนร่วมในการควบคุมป้องกันโรคไข้เลือดออก

 

55 0

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 1.เพื่อส่งเสริมให้ประชาชนมีความรู้ความเข้าใจ ตระหนักและปฏิบัติในการป้องกันโรคไข้เลือดออกอย่างถูกต่อง 2.เพื่อส่งเสริมให้ประชาชนมีพฤติกรรม 5 ป 1 ข ที่ถูกต้อง 3.เพื่อให้ค่าดัชนีลูกน้ำยุงลายลดลง(HI,CI) 4.เพื่อให้อัตราป่วยเป็นศูนย์อย่างต่อเนื่อง
ตัวชี้วัด :
0.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 0
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) 1.เพื่อส่งเสริมให้ประชาชนมีความรู้ความเข้าใจ ตระหนักและปฏิบัติในการป้องกันโรคไข้เลือดออกอย่างถูกต่อง  2.เพื่อส่งเสริมให้ประชาชนมีพฤติกรรม 5 ป 1 ข ที่ถูกต้อง  3.เพื่อให้ค่าดัชนีลูกน้ำยุงลายลดลง(HI,CI)  4.เพื่อให้อัตราป่วยเป็นศูนย์อย่างต่อเนื่อง

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) โครงการชุมชนร่วมใจ ป้องกันภัยไข้เลือดออกปี 2563

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการชุมชนร่วมใจ ป้องกันภัยไข้เลือดออก ปี 2563 จังหวัด พัทลุง

รหัสโครงการ

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นางจำนวล แป้นเนียม ประธานอาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้าน )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด