กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลเมืองสุไหงโก-ลก


“ โครงการกินอยู่อย่างไรห่างไกล Stroke ชุมชนกูโบร์ ”

ตำบลสุไหงโก-ลก อำเภอสุไหง-โกลก จังหวัดนราธิวาส

หัวหน้าโครงการ
นายอาซูวัลย์ สะแลแม

ชื่อโครงการ โครงการกินอยู่อย่างไรห่างไกล Stroke ชุมชนกูโบร์

ที่อยู่ ตำบลสุไหงโก-ลก อำเภอสุไหง-โกลก จังหวัดนราธิวาส จังหวัด นราธิวาส

รหัสโครงการ 63-L6961-01-22 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 มิถุนายน 2563 ถึง 31 ธันวาคม 2563


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการกินอยู่อย่างไรห่างไกล Stroke ชุมชนกูโบร์ จังหวัดนราธิวาส" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลสุไหงโก-ลก อำเภอสุไหง-โกลก จังหวัดนราธิวาส

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลเมืองสุไหงโก-ลก ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการกินอยู่อย่างไรห่างไกล Stroke ชุมชนกูโบร์



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการกินอยู่อย่างไรห่างไกล Stroke ชุมชนกูโบร์ " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลสุไหงโก-ลก อำเภอสุไหง-โกลก จังหวัดนราธิวาส รหัสโครงการ 63-L6961-01-22 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 มิถุนายน 2563 - 31 ธันวาคม 2563 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 49,000.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลเมืองสุไหงโก-ลก เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

โรคหลอดเลือดสมองหรือโรคอัมพฤกษ์ อัมพาตเป็นปัญหาสาธารณสุขที่สำคัญระดับโลกองค์การอัมพาตโลก (World Stroke Organization: WSO) รายงานว่าโรคหลอดเลือดสมองเป็นสาเหตุการเสียชีวิตอันดับ 2 ของโลก มีจำนวนผู้ป่วยด้วยโรคหลอดเลือดสมองทั่วโลก 17 ล้านคนและเสียชีวิตจากโรคหลอดเลือดสมองจำนวน6.5 ล้านคน
สถิติผู้ป่วยโรคหลอดเลือดสมองที่มารับบริการที่โรงพยาบาลสุไหงโก-ลกปีพ.ศ. 25560-2562 พบจำนวน๔๐๐, ๕๒๑และ๕๐๔ ราย ตามลำดับ ร้อยละผู้ป่วยโรคหลอดเลือดสมองเสียชีวิตปีพ.ศ. 2560-2562 พบร้อยละ6.50(26/400), 6.14(32/521)และ3.8(19/504)ตามลำดับ ซึ่งมีแนวโน้มเพิ่มขึ้น ร้อยละผู้ป่วยโรคหลอดเลือดสมองที่มาทันเวลา3 - 4.5 ชั่วโมง ปี พ.ศ. 2560-2561ร้อยละ๕๖.๖๕,๓๕.๔๒ และ๓๘.๒๔ตามลำดับ ซึ่งยังมีผู้ป่วยจำนวนมากที่ไม่สามารถเข้าถึงบริการนี้ได้ทันเวลา เนื่องจากขาดความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับโรค อาการเตือนการจัดการหรือการตระหนักถึงการป้องกันปัจจัยเสี่ยงต่างๆได้แก่ โรคเบาหวาน ความดันโลหิตสูง โรคหัวใจ การสูบบุหรี่ รวมทั้งภาวะไขมันในเลือดสูง และการปฏิบัติตัวที่เหมาะสม ให้มีการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพที่เป็นความเสี่ยงต่อความเจ็บป่วยของโรคหลอดเลือดสมองในการป้องกันการเกิดโรคหลอดเลือดสมอง การรณรงค์ให้ความรู้เกี่ยวกับ Stroke Fast Track การฉีดยาละลายลิ่มเลือดในเวลา 4.5 ชั่วโมง ลดอัตราตายและความพิการได้ ในเขตรับผิดชอบของศูนย์แพทย์ใกล้ใจ 2 มีผู้ป่วยที่มีความดันโลหิตสูง จำนวน 1,635ราย โรคเบาหวาน จำนวน 359รายและมารับการตรวจรักษาและรับยาที่ศูนย์แพทย์ใกล้ใจ 2จำนวน 100ราย/สัปดาห์(ในวันคลินิกเบาหวาน/ความดันโลหิตสูง) และในชุมชนกูโบร์มีผู้ป่วยที่มีความดันโลหิตสูง 93 ราย โรคเบาหวาน 13ราย ความดันโลหิตสูงร่วมกับโรคเบาหวาน59ราย และโรคหลอดเลือดสมอง จำนวน 1รายซึ่งสอดคล้องกับปัจจัยเสี่ยงที่สำคัญที่ทำให้เกิดโรคหลอดเลือดสมอง ซึ่งพบว่ากลุ่มที่เป็นโรคความดันโลหิตสูงเป็นกลุ่มที่มีมากที่สุด และจากการสำรวจข้อมูลในชุมชนนี้พบว่ามีอุบัติการณ์และความชุกของผู้ป่วยที่เป็นโรคหลอดเลือดสมองยังสูง และคนในชุมชนไม่ทราบแนวทางและการป้องกันเมื่อมีบุคคลที่มีความเสี่ยงต่อการเกิดโรคหลอดเลือดสมองเมื่อมีอาการแสดงเกิดขึ้นซึ่งถ้าการช่วยเหลือมีความล่าช้า จะส่งผลให้ภาวะโรคมีความรุนแรงมากขึ้น ส่งผลให้เกิดความพิการได้ ดังนั้นเพื่อให้ภาวสุขภาพของประชาชนในกลุ่มดังกล่าวได้รับการส่งเสริม ป้องกันและควบคุมโรค โดยมุ่งเน้นการมีส่วนร่วมของภาคีเครือข่ายสอดคล้องกับปัญหาในพื้นที่ประชาชนมีคุณภาพชีวิตที่ดีขึ้นงานรักษาพยาบาลชุมชนฝ่ายสุขศึกษาและพัฒนาพฤติกรรมสุขภาพโรงพยาบาลสุไหงโก-ลกเจ้าหน้าที่ศูนย์แพทย์ใกล้ใจ 2 ร่วมกับ อาสาสมัครสาธารณสุขหมู่บ้านชุมชนกูโบร์จึงจัดทำโครงการกินอยู่อย่างไร ห่างไกล Strokeชุมชนกูโบร์ ปี 2563ขึ้น

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. 1 เพื่อให้กลุ่มเสี่ยงและกลุ่มป่วยโรคความดันโลหิตสูง/เบาหวานที่เข้าร่วมโครงการมีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับโรคหลอดเลือดสมอง อาการเตือน และการป้องกันโรคหลอดเลือดสมอง
  2. 2เพื่อให้กลุ่มเสี่ยงและกลุ่มป่วยโรคความดันโลหิตสูง/เบาหวานมีการจัดการตนเอง มีทักษะเพื่อปรับเปลี่ยนพฤติกรรมที่ถูกต้อง
  3. 3 เพื่อให้กลุ่มป่วยมีการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพที่เป็นความเสี่ยงต่อโรคหลอดหลอดเลือดสมองเพื่อป้องกันการเกิดโรค ป้องกันการกลับเป็นซ้ำหรือควบคุมอาการของโรคไม่ให้รุนแรงมากขึ้น

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. กิจกรรม เวทีประชาคม
  2. กิจกรรม วันเปิดโครงการ กินอยู่อย่างไร ห่างไกล Stroke
  3. กิจกรรม อบรมแลกเปลี่ยนเรียนรู้ การสาธิตเมนูอาหาร ลดหวาน มัน เค็ม เพื่อสุขภาพและติดตามความก้าวหน้า
  4. กิจกรรม ฝึกกายบริหาร เดิน-วิ่ง/แอโรบิค เพื่อสุขภาพ
  5. กิจกรรม ติดตามความก้าวหน้าหลังให้ความรู้และติดตามเยี่ยมบ้านกลุ่มเสี่ยง กลุ่มป่วยโรคความดันโลหิตสูง เบาหวาน และโรคหลอดเลือดสมอง

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 120
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

1.ประชาชนกลุ่มเป้าหมายที่เข้าร่วมโครงการมีความรู้เรื่องโรคหลอดเลือดสมองที่ถูกต้องมีทักษะ สามารถปรับเปลี่ยนพฤติกรรมด้วยการเสริมสร้างสุขภาพและป้องกันโรคที่เหมาะสม กลุ่มเสี่ยง กลุ่มป่วยได้รับการดูแลอย่างต่อเนื่องได้รับการรักษาตามแนวทางมาตรฐานการรักษาและมีสุขภาพดีอัตราการเกิดโรคหลอดเลือดสมองลดลง 2.ประชาชนกลุ่มเป้าหมายสามารถดูแลตนเองในการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพเรื่องอาหาร ออกกำลังกาย อารมณ์ และการงดสูบบุหรี่ ดื่มสุราได้อย่างถูกต้อง 3.อาสาสมัครประจำหมู่บ้านมีศักยภาพและความสามารถในการบริการเชิงรุกในชุมชนเพื่อประเมินสภาวะสุขภาพของครอบครัวและชุมชนได้


ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

1. กิจกรรม เวทีประชาคม

วันที่ 19 พฤษภาคม 2563

กิจกรรมที่ทำ

ค่าอาหารว่าง  1250 บาท ค่าวัสดุอุปกรณ์  500 บาท

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ได้ความรู้

 

0 0

2. กิจกรรม วันเปิดโครงการ กินอยู่อย่างไร ห่างไกล Stroke

วันที่ 19 พฤษภาคม 2563

กิจกรรมที่ทำ

ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม  3500 บาท ค่าอาหารกลางวัน  3500 บาท ค่าตอบแทนวิทยากร  1800 บาท ค่าสมนาคุณวิทยากรกลุ่ม  4200 บาท ค่าวัสดุจัดทำป้ายไวนิลโครงการ  1200 บาท ค่าวัสดุอาหารทำ Workshop อาหารหวานมันเค็ม  1400 บาท ค่าจัดทำคู่มือ  1000 บาท เครื่องวัดความดันโลหิต  4000 บาท แถบเจาะน้ำตาลในเลือด  4000 บาท ค่าวัสดุอุปกรณ์ (สาธิตปลูกผักสวนครัว)  5000 บาท ค่าจ้างเหมาจัดทำสื่อประชาสัมพันธ์  5000 บาท

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ได้ความรู้

 

0 0

3. กิจกรรม อบรมแลกเปลี่ยนเรียนรู้ การสาธิตเมนูอาหาร ลดหวาน มัน เค็ม เพื่อสุขภาพและติดตามความก้าวหน้า

วันที่ 19 พฤษภาคม 2563

กิจกรรมที่ทำ

ค่าอาหารกลางวัน  2500 บาท ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม  2500 บาท ค่าวัสดุจัดทำป้ายไวนิล  2400 บาท

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ได้แลกเปลี่ยนการเรียนรู้

 

0 0

4. กิจกรรม ฝึกกายบริหาร เดิน-วิ่ง/แอโรบิค เพื่อสุขภาพ

วันที่ 19 พฤษภาคม 2563

กิจกรรมที่ทำ

ค่าสมนาคุณวิทยากร  1500 บาท ค่าผ้าขาวม้า  1250 บาท

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ได้ออกกำลังกาย

 

0 0

5. กิจกรรม ติดตามความก้าวหน้าหลังให้ความรู้และติดตามเยี่ยมบ้านกลุ่มเสี่ยง กลุ่มป่วยโรคความดันโลหิตสูง เบาหวาน และโรคหลอดเลือดสมอง

วันที่ 19 พฤษภาคม 2563

กิจกรรมที่ทำ

ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม  2500 บาท

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ได้ติดตามเยี่ยมบ้านหลังให้ความรู้

 

0 0

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 1 เพื่อให้กลุ่มเสี่ยงและกลุ่มป่วยโรคความดันโลหิตสูง/เบาหวานที่เข้าร่วมโครงการมีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับโรคหลอดเลือดสมอง อาการเตือน และการป้องกันโรคหลอดเลือดสมอง
ตัวชี้วัด : ร้อยละของประชาชนมีระดับคะแนนความรู้ความเข้าใจของโรคหลอดเลือดสมองอาการเตือน และการป้องกันโรคเพิ่มขึ้น ร้อยละ 80
0.00

 

2 2เพื่อให้กลุ่มเสี่ยงและกลุ่มป่วยโรคความดันโลหิตสูง/เบาหวานมีการจัดการตนเอง มีทักษะเพื่อปรับเปลี่ยนพฤติกรรมที่ถูกต้อง
ตัวชี้วัด : ร้อยละของกลุ่มเสี่ยงและกลุ่มป่วยมีการจัดการตนเองมีทักษะเพื่อปรับเปลี่ยนพฤติกรรมที่ถูกต้องเพิ่มขึ้น ร้อยละ 80
0.00

 

3 3 เพื่อให้กลุ่มป่วยมีการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพที่เป็นความเสี่ยงต่อโรคหลอดหลอดเลือดสมองเพื่อป้องกันการเกิดโรค ป้องกันการกลับเป็นซ้ำหรือควบคุมอาการของโรคไม่ให้รุนแรงมากขึ้น
ตัวชี้วัด : ร้อยละของผู้ป่วยมีระดับความดันโลหิตและระดับน้ำตาลในเลือดของกลุ่มเสี่ยงและกลุ่มป่วยลดลงอยู่ในเกณฑ์ร้อยละ 50
0.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 120
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 120
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) 1 เพื่อให้กลุ่มเสี่ยงและกลุ่มป่วยโรคความดันโลหิตสูง/เบาหวานที่เข้าร่วมโครงการมีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับโรคหลอดเลือดสมอง อาการเตือน และการป้องกันโรคหลอดเลือดสมอง (2) 2เพื่อให้กลุ่มเสี่ยงและกลุ่มป่วยโรคความดันโลหิตสูง/เบาหวานมีการจัดการตนเอง มีทักษะเพื่อปรับเปลี่ยนพฤติกรรมที่ถูกต้อง (3) 3 เพื่อให้กลุ่มป่วยมีการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพที่เป็นความเสี่ยงต่อโรคหลอดหลอดเลือดสมองเพื่อป้องกันการเกิดโรค ป้องกันการกลับเป็นซ้ำหรือควบคุมอาการของโรคไม่ให้รุนแรงมากขึ้น

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) กิจกรรม เวทีประชาคม (2) กิจกรรม วันเปิดโครงการ กินอยู่อย่างไร ห่างไกล Stroke (3) กิจกรรม อบรมแลกเปลี่ยนเรียนรู้ การสาธิตเมนูอาหาร ลดหวาน มัน เค็ม เพื่อสุขภาพและติดตามความก้าวหน้า (4) กิจกรรม ฝึกกายบริหาร เดิน-วิ่ง/แอโรบิค เพื่อสุขภาพ (5) กิจกรรม ติดตามความก้าวหน้าหลังให้ความรู้และติดตามเยี่ยมบ้านกลุ่มเสี่ยง กลุ่มป่วยโรคความดันโลหิตสูง เบาหวาน และโรคหลอดเลือดสมอง

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการกินอยู่อย่างไรห่างไกล Stroke ชุมชนกูโบร์ จังหวัด นราธิวาส

รหัสโครงการ 63-L6961-01-22

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นายอาซูวัลย์ สะแลแม )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด