โครงการ อสม . ห่วงใย ครอบครัวใส่ใจสุขภาพ
แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์
รายงานฉบับสมบูรณ์
โครงการ
“ โครงการ อสม . ห่วงใย ครอบครัวใส่ใจสุขภาพ ”
อำเภอเมืองตรัง จังหวัดตรัง
หัวหน้าโครงการ
นายสาโรจ จิตรา
ได้รับการสนับสนุนโดย กองทุนสุขภาพตำบล อบต.นาท่ามใต้
กันยายน 2563
ชื่อโครงการ โครงการ อสม . ห่วงใย ครอบครัวใส่ใจสุขภาพ
ที่อยู่ อำเภอเมืองตรัง จังหวัดตรัง จังหวัด ตรัง
รหัสโครงการ 63-L8428-02-13 เลขที่ข้อตกลง 18/2563
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 4 มีนาคม 2563 ถึง 30 กันยายน 2563
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการ อสม . ห่วงใย ครอบครัวใส่ใจสุขภาพ จังหวัดตรัง" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน อำเภอเมืองตรัง จังหวัดตรัง
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.นาท่ามใต้ ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการ อสม . ห่วงใย ครอบครัวใส่ใจสุขภาพ
บทคัดย่อ
โครงการ " โครงการ อสม . ห่วงใย ครอบครัวใส่ใจสุขภาพ " ดำเนินการในพื้นที่ อำเภอเมืองตรัง จังหวัดตรัง รหัสโครงการ 63-L8428-02-13 ระยะเวลาการดำเนินงาน 4 มีนาคม 2563 - 30 กันยายน 2563 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 2,566.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.นาท่ามใต้ เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ »
บทคัดย่อ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล »
วัตถุประสงค์โครงการ »
กิจกรรม/การดำเนินงาน »
กลุ่มเป้าหมาย »
ผลลัพธ์ที่ได้ »
การประเมินผล »
ปัญหาและอุปสรรค »
ข้อเสนอแนะ »
เอกสารประกอบอื่นๆ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
การดูแลสุขภาพถือเป็นความรับผิดชอบของบุคคลแต่ละคนโดยเฉพาะพฤติกรรมสุขภาพซึ่งหมายถึง การกระทำของบุคคลที่มีผลต่อสุขภาพโดยแสดงออกให้เห็นได้ในลักษณะของการกระทำในสิ่งที่เป็นผลดีต่อสุขภาพและการไม่กระทำในสิ่งที่เป็นผลเสียต่อสุขภาพ แต่ในปัจจุบันมีพฤติกรรมที่ทำลายสุขภาพมากยิ่งขึ้น
โรคที่เกิดจากพฤติกรรมนับเป็นปัญหาสาธารณสุขที่สำคัญมากขึ้นทุกปี เนื่องจากเป็นสาเหตุการป่วย พิการและเป็นสาเหตุการตายก่อนวัยอันควรจำนวนมากได้แก่ โรคหัวใจขาดเลือด โรคหลอดเลือดสมอง โรคเบาหวาน โรคความดันโลหิตสูง และหนึ่งในพฤติกรรมที่เป็นปัญหาอย่างมากในปัจจุบันคือ พฤติกรรมการบริโภคโซเดียมเกินความต้องการของร่างกาย ทั้งในรูปของอาหารขนมเครื่องปรุงรสจากรายงานการสำรวจการบริโภคอาหารของคนไทย การสำรวจสุขภาพประชาชนไทยโดยการตรวจร่างกาย ครั้งที่ 4 พ.ศ.2551-2552 ในกลุ่มตัวอย่างทั่วประเทศ 2,696 คน อายุตั้งแต่ 1 ปีขึ้นไป พบว่า คนไทยบริโภคโซเดียมจากอาหารเพิ่มขึ้นตามอายุ โดยเฉพาะในช่วงอายุ 19-59 ปี บริโภคโซเดียมสูงถึง 2,961.9 – 3,366.8 มิลลิกรัม/วัน หรือประมาณ 1.5-1.8 เท่า ของปริมาณโซเดียมที่ควรได้รับต่อวัน คือ ไม่เกิน 2,000 มิลลิกรัม/วันและอันตรายของการบริโภคโซเดียมเกินความต้องการคือการก่อให้เกิดโรคต่างๆ ตามมามากมาย เช่น โรคความดันโลหิตสูง โรคไต โรคหัวใจและหลอดเลือด เป็นต้นเมื่อเกิดการเจ็บป่วยแล้วก็จะต้องมีการรักษาและการใช้ยาตามมา และแน่นอนว่าโรคหลายๆโรคเป็นโรคเรื้อรัง (Chronic disease) หมายถึง โรคที่เมื่อเป็นแล้วจะมีอาการหรือต้องรักษาติดต่อกันนาน เป็นแรมเดือนแรมปี หรือตลอดชีวิต และปัญหาการใช้ยาก็จะตามมามากมาย เช่นปรับขนาดยาเองตามใจชอบด้วยความเชื่อที่ว่ารับประทานยามากไม่ดี เมื่ออาการดีขึ้นแล้วก็หยุดยาเอง นำยาของคนอื่นมาใช้ ด้วยความเอื้อเฟื้อจากเพื่อนบ้านหรือคนในบ้านเดียวกัน เมื่อฟังว่ามีอาการเหมือนกัน ก็ขอยาที่เพื่อนใช้มาทดลองใช้บ้างเก็บยาไม่ถูกต้องทำให้ยาเสื่อมก่อนถึงวันหมดอายุประสิทธิภาพยาลดลง
จากผลการดำเนินงานโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง ในพื้นที่รับผิดชอบของโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านนาท่ามอำเภอเมือง จังหวัดตรัง ปีงบประมาณ 2563เป้าหมายการดำเนินงาน ๑,๘๖๑ คน สามารถดำเนินการคัดกรองเบาหวานและความดันโลหิตสูงได้๑,๘๐๙ คนคิดเป็นร้อยละ ๙๗.๒๐ สามารถจำแนกข้อมูลตามกลุ่มต่าง ๆ กล่าวคือ การตรวจคัดกรองเบาหวาน ทั้งหมด ๑,๕๐๙ คน พบปกติ ร้อยละ ๗๔.๕ ตาลในเลือดสูงกว่าปกติ มีความเสี่ยงสูงที่จะเป็นเบาหวาน ร้อยละ ๓,๕๗๖ ตรวจคัดกรองความดันโลหิตทั้งหมด ๑,๖๔๖ คน พบปกติร้อยละ ๗๓.๒๖ ความดันโลหิตสูงมีความเสี่ยงสูงที่จะเป็นโรคความดันโลหิตสูง ร้อยละ ๒๖.๗๓ มีผู้ป่วยเบาหวานและความดันโลหิตสูงในคลินิกโรคเรื้อรัง293 คน เป็นผู้ป่วยความดันโลหิตสูง238 รายสามารถควบคุมความดันให้อยู่ในเกณฑ์ได้ 37 ราย คิดเป็นร้อยละ 15.54ผู้ป่วยเบาหวานจำนวน 55รายสามารถควบคุมระดับน้ำตาลให้อยู่ในเกณฑ์ได้ 11 ราย คิดเป็นร้อยละ 20 ซึ่งยังมีผู้ที่ยังไม่สามารถควบคุมโรคได้อีกจำนวนมากโดยมีความเกี่ยวข้องทั้งการรับประทานยาอย่างถูกต้องตามแพทย์สั่งและที่สำคัญคือการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพของตัวผู้ป่วยเองโดยเฉพาะการรับประทานโซเดียมที่เกินค่ามาตราฐานในภาพรวมของระดับประเทศ
ดังนั้น ทางชมรมอาสาสมัครสาธารณสุขโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านนาท่ามอำเภอเมือง จังหวัดตรัง จึงได้จัดทำโครงการอสม. ห่วงใยครอบครัวใส่ใจสุขภาพขึ้นเพื่อดำเนินการแก้ไขปัญหาระดับชุมชน
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- 1. สร้างเครือข่าย“ใช้ยาปลอดภัย อุ่นใจทุกครัวเรือน”เพื่อความเข้มแข็งในการเฝ้าระวังและจัดการยา/ผลิตภัณฑ์สุขภาพในชุมชน
- 2. ลดการใช้ยาปฎิชีวนะโดยไม่จำเป็น ประมวลผลด้วยระบบฐานข้อมูลHosXp ไม่เกินร้อยละ 20
- เพื่อลดอัตราการสูญเสียยาโดยไม่จำเป็น
- เพื่อให้ครอบครัวมีความตระหนักถึงอันตรายของการบริโภคโซเดียมที่มากเกินเกณฑ์
กิจกรรม/การดำเนินงาน
- ติดตามเยี่ยมบ้าน แลกเปลี่ยนเรียนรู้
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
29
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
แกนนำสุขภาพสามารถนำความรู้ไปใช้สร้างสุขภาพที่ดีแก่ประชาชนในชุมชนได้
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ ผลผลิต* ผลผลิตที่ตั้งไว้ ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง
1. เวทีแลกเปลี่ยนเรียนโครงการอสม. ห่วงใย ครอบครัวใส่ใจสุขภาพ
วันที่ 6 ตุลาคม 2563กิจกรรมที่ทำ
- ประชุมคณะทำงาน และผู้เกี่ยวข้องเพื่อหาแนวทางในการดำเนินงานโครงการ
- จัดทำและขออนุมัติโครงการ และขอความร่วมมือในการดำเนินงานจากหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง
- เตรียมข้อมูล เอกสาร และวัสดุอุปกรณ์ที่ต้องใช่ในการดำเนินงาน
- จัดหาอุปกรณ์สำหรับการจัดตั้งเครือข่าย “ใช้ยาปลอดภัย อุ่นในทุกครัวเรือน”
- ดำเนินการเยี่ยมบ้านเพื่อติดตามการใช้ยาในกลุ่มโรคเรื้อรัง และสุ่มตรวจโซเดียมในอาหาร
- ให้คำแนะนำเรื่องการปฎิบัติตัวที่เหมาะสมสอดคล้องกับโรค เน้นเรื่องการใช้ยาและการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมลดการบริโภคโซเดียมเกินเกณฑ์
- ดำเนินการรับคืนยาที่เกินความต้องการจากชุมชน
- จัดเวทีแลกเปลี่ยนเรียนรู้เพื่อสรุปปัญหาที่พบ แนวทางการแก้ไขปัญหา
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
- สร้างเครือข่ายความเข้มแข็งในการเฝ้าระวังและจัดการยา/ผลิตภัณฑ์สุขภาพในชุมชน โดยจัดตั้งเครือข่าย“ใช้ยาปลอดภัย อุ่นใจทุกครัวเรือน” 1 เครือข่าย นำร่องที่ ม.6
- ลดการใช้ยาปฎิชีวนะโดยไม่จำเป็น โดยอัตราการใช้ยาปฎิชีวนะของประชาชนในพื้นที่รพ.สต.บ้านนาท่าม ประมวลผลด้วยระบบฐานข้อมูลHosXp ร้อยละ 8.55
- ลดอัตราการสูญเสียยาโดยไม่จำเป็น โดยผู้ป่วยคลินิกโรคเรื้อรังนำยาที่เหลือใช้มาคืนในทุกรอบของการรักษา ตั้งจุดรับยาที่เหลือใช้ในแต่ละเดือน ร้อยละ100
4.เพื่อให้ครอบครัวมีความตระหนักถึงอันตรายของการบริโภคโซเดียมที่มากเกินเกณฑ์และทราบผลของโซเดียมในอาหารบ้านของตัวเอง โดยครัวเรือนของม.1ได้เข้าร่วมการตรวจโซเดียมในอาหารและได้รับความรู้เรื่องโซเดียมในอาหารและปริมาณโซเดียมในอาหารของตนเอง ใช้เครื่องตรวจโซเดียมในอาหารประเมินผล ร้อยละ 90.5
-ผลการบริโภคโซเดียมในอาหารเกินเกณฑ์ ร้อยละ 94.02
และส่วนใหญ่จะมีเครื่องปรุงเกินความจำเป็น
-ประชาชนมีความพึงพอใจต่อการกิจกรรมการสำรวจโซเดียมในอาหารในระดับมากและมากที่สุดร้อยละ 100
0
0
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ สถานการณ์ เป้าหมาย ผลผลิต อธิบาย
1
1. สร้างเครือข่าย“ใช้ยาปลอดภัย อุ่นใจทุกครัวเรือน”เพื่อความเข้มแข็งในการเฝ้าระวังและจัดการยา/ผลิตภัณฑ์สุขภาพในชุมชน
ตัวชี้วัด : มีเครือข่ายความเข้มแข็งในการเฝ้าระวังและจัดการยา/ผลิตภัณฑ์สุขภาพในชุมชน 1 เครือข่าย
80.00
80.00
80.00
2
2. ลดการใช้ยาปฎิชีวนะโดยไม่จำเป็น ประมวลผลด้วยระบบฐานข้อมูลHosXp ไม่เกินร้อยละ 20
ตัวชี้วัด : จำนวนการใช้ยาปฏิชีวนะโดยไม่จำเป็นลดลง
20.00
20.00
20.00
3
เพื่อลดอัตราการสูญเสียยาโดยไม่จำเป็น
ตัวชี้วัด : อัตราการใช้ยาที่ไม่จำเป็นลดน้อยลง
20.00
20.00
20.00
4
เพื่อให้ครอบครัวมีความตระหนักถึงอันตรายของการบริโภคโซเดียมที่มากเกินเกณฑ์
ตัวชี้วัด : จำนวนครอบครัวที่ตระหนักถึงอันครายของการบริโภคโซเดียมที่มากเกินเกณฑ์
90.00
90.00
90.00
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด
29
29
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
-
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
-
กลุ่มวัยทำงาน
29
29
กลุ่มผู้สูงอายุ
-
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
-
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
-
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
-
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
-
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
-
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) 1. สร้างเครือข่าย“ใช้ยาปลอดภัย อุ่นใจทุกครัวเรือน”เพื่อความเข้มแข็งในการเฝ้าระวังและจัดการยา/ผลิตภัณฑ์สุขภาพในชุมชน (2) 2. ลดการใช้ยาปฎิชีวนะโดยไม่จำเป็น ประมวลผลด้วยระบบฐานข้อมูลHosXp ไม่เกินร้อยละ 20 (3) เพื่อลดอัตราการสูญเสียยาโดยไม่จำเป็น (4) เพื่อให้ครอบครัวมีความตระหนักถึงอันตรายของการบริโภคโซเดียมที่มากเกินเกณฑ์
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) ติดตามเยี่ยมบ้าน แลกเปลี่ยนเรียนรู้
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *- บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
- หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค สาเหตุ ข้อเสนอแนะ
โครงการ อสม . ห่วงใย ครอบครัวใส่ใจสุขภาพ จังหวัด ตรัง
รหัสโครงการ 63-L8428-02-13
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
................................
( นายสาโรจ จิตรา )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......
โครงการ
“ โครงการ อสม . ห่วงใย ครอบครัวใส่ใจสุขภาพ ”
อำเภอเมืองตรัง จังหวัดตรัง
หัวหน้าโครงการ
นายสาโรจ จิตรา
กันยายน 2563
ที่อยู่ อำเภอเมืองตรัง จังหวัดตรัง จังหวัด ตรัง
รหัสโครงการ 63-L8428-02-13 เลขที่ข้อตกลง 18/2563
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 4 มีนาคม 2563 ถึง 30 กันยายน 2563
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการ อสม . ห่วงใย ครอบครัวใส่ใจสุขภาพ จังหวัดตรัง" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน อำเภอเมืองตรัง จังหวัดตรัง
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.นาท่ามใต้ ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการ อสม . ห่วงใย ครอบครัวใส่ใจสุขภาพ
บทคัดย่อ
โครงการ " โครงการ อสม . ห่วงใย ครอบครัวใส่ใจสุขภาพ " ดำเนินการในพื้นที่ อำเภอเมืองตรัง จังหวัดตรัง รหัสโครงการ 63-L8428-02-13 ระยะเวลาการดำเนินงาน 4 มีนาคม 2563 - 30 กันยายน 2563 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 2,566.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.นาท่ามใต้ เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ | » |
บทคัดย่อ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล | » |
วัตถุประสงค์โครงการ | » |
กิจกรรม/การดำเนินงาน | » |
กลุ่มเป้าหมาย | » |
ผลลัพธ์ที่ได้ | » |
การประเมินผล | » |
ปัญหาและอุปสรรค | » |
ข้อเสนอแนะ | » |
เอกสารประกอบอื่นๆ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
การดูแลสุขภาพถือเป็นความรับผิดชอบของบุคคลแต่ละคนโดยเฉพาะพฤติกรรมสุขภาพซึ่งหมายถึง การกระทำของบุคคลที่มีผลต่อสุขภาพโดยแสดงออกให้เห็นได้ในลักษณะของการกระทำในสิ่งที่เป็นผลดีต่อสุขภาพและการไม่กระทำในสิ่งที่เป็นผลเสียต่อสุขภาพ แต่ในปัจจุบันมีพฤติกรรมที่ทำลายสุขภาพมากยิ่งขึ้น
โรคที่เกิดจากพฤติกรรมนับเป็นปัญหาสาธารณสุขที่สำคัญมากขึ้นทุกปี เนื่องจากเป็นสาเหตุการป่วย พิการและเป็นสาเหตุการตายก่อนวัยอันควรจำนวนมากได้แก่ โรคหัวใจขาดเลือด โรคหลอดเลือดสมอง โรคเบาหวาน โรคความดันโลหิตสูง และหนึ่งในพฤติกรรมที่เป็นปัญหาอย่างมากในปัจจุบันคือ พฤติกรรมการบริโภคโซเดียมเกินความต้องการของร่างกาย ทั้งในรูปของอาหารขนมเครื่องปรุงรสจากรายงานการสำรวจการบริโภคอาหารของคนไทย การสำรวจสุขภาพประชาชนไทยโดยการตรวจร่างกาย ครั้งที่ 4 พ.ศ.2551-2552 ในกลุ่มตัวอย่างทั่วประเทศ 2,696 คน อายุตั้งแต่ 1 ปีขึ้นไป พบว่า คนไทยบริโภคโซเดียมจากอาหารเพิ่มขึ้นตามอายุ โดยเฉพาะในช่วงอายุ 19-59 ปี บริโภคโซเดียมสูงถึง 2,961.9 – 3,366.8 มิลลิกรัม/วัน หรือประมาณ 1.5-1.8 เท่า ของปริมาณโซเดียมที่ควรได้รับต่อวัน คือ ไม่เกิน 2,000 มิลลิกรัม/วันและอันตรายของการบริโภคโซเดียมเกินความต้องการคือการก่อให้เกิดโรคต่างๆ ตามมามากมาย เช่น โรคความดันโลหิตสูง โรคไต โรคหัวใจและหลอดเลือด เป็นต้นเมื่อเกิดการเจ็บป่วยแล้วก็จะต้องมีการรักษาและการใช้ยาตามมา และแน่นอนว่าโรคหลายๆโรคเป็นโรคเรื้อรัง (Chronic disease) หมายถึง โรคที่เมื่อเป็นแล้วจะมีอาการหรือต้องรักษาติดต่อกันนาน เป็นแรมเดือนแรมปี หรือตลอดชีวิต และปัญหาการใช้ยาก็จะตามมามากมาย เช่นปรับขนาดยาเองตามใจชอบด้วยความเชื่อที่ว่ารับประทานยามากไม่ดี เมื่ออาการดีขึ้นแล้วก็หยุดยาเอง นำยาของคนอื่นมาใช้ ด้วยความเอื้อเฟื้อจากเพื่อนบ้านหรือคนในบ้านเดียวกัน เมื่อฟังว่ามีอาการเหมือนกัน ก็ขอยาที่เพื่อนใช้มาทดลองใช้บ้างเก็บยาไม่ถูกต้องทำให้ยาเสื่อมก่อนถึงวันหมดอายุประสิทธิภาพยาลดลง
จากผลการดำเนินงานโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง ในพื้นที่รับผิดชอบของโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านนาท่ามอำเภอเมือง จังหวัดตรัง ปีงบประมาณ 2563เป้าหมายการดำเนินงาน ๑,๘๖๑ คน สามารถดำเนินการคัดกรองเบาหวานและความดันโลหิตสูงได้๑,๘๐๙ คนคิดเป็นร้อยละ ๙๗.๒๐ สามารถจำแนกข้อมูลตามกลุ่มต่าง ๆ กล่าวคือ การตรวจคัดกรองเบาหวาน ทั้งหมด ๑,๕๐๙ คน พบปกติ ร้อยละ ๗๔.๕ ตาลในเลือดสูงกว่าปกติ มีความเสี่ยงสูงที่จะเป็นเบาหวาน ร้อยละ ๓,๕๗๖ ตรวจคัดกรองความดันโลหิตทั้งหมด ๑,๖๔๖ คน พบปกติร้อยละ ๗๓.๒๖ ความดันโลหิตสูงมีความเสี่ยงสูงที่จะเป็นโรคความดันโลหิตสูง ร้อยละ ๒๖.๗๓ มีผู้ป่วยเบาหวานและความดันโลหิตสูงในคลินิกโรคเรื้อรัง293 คน เป็นผู้ป่วยความดันโลหิตสูง238 รายสามารถควบคุมความดันให้อยู่ในเกณฑ์ได้ 37 ราย คิดเป็นร้อยละ 15.54ผู้ป่วยเบาหวานจำนวน 55รายสามารถควบคุมระดับน้ำตาลให้อยู่ในเกณฑ์ได้ 11 ราย คิดเป็นร้อยละ 20 ซึ่งยังมีผู้ที่ยังไม่สามารถควบคุมโรคได้อีกจำนวนมากโดยมีความเกี่ยวข้องทั้งการรับประทานยาอย่างถูกต้องตามแพทย์สั่งและที่สำคัญคือการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพของตัวผู้ป่วยเองโดยเฉพาะการรับประทานโซเดียมที่เกินค่ามาตราฐานในภาพรวมของระดับประเทศ
ดังนั้น ทางชมรมอาสาสมัครสาธารณสุขโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านนาท่ามอำเภอเมือง จังหวัดตรัง จึงได้จัดทำโครงการอสม. ห่วงใยครอบครัวใส่ใจสุขภาพขึ้นเพื่อดำเนินการแก้ไขปัญหาระดับชุมชน
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- 1. สร้างเครือข่าย“ใช้ยาปลอดภัย อุ่นใจทุกครัวเรือน”เพื่อความเข้มแข็งในการเฝ้าระวังและจัดการยา/ผลิตภัณฑ์สุขภาพในชุมชน
- 2. ลดการใช้ยาปฎิชีวนะโดยไม่จำเป็น ประมวลผลด้วยระบบฐานข้อมูลHosXp ไม่เกินร้อยละ 20
- เพื่อลดอัตราการสูญเสียยาโดยไม่จำเป็น
- เพื่อให้ครอบครัวมีความตระหนักถึงอันตรายของการบริโภคโซเดียมที่มากเกินเกณฑ์
กิจกรรม/การดำเนินงาน
- ติดตามเยี่ยมบ้าน แลกเปลี่ยนเรียนรู้
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้ | |
---|---|---|
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | ||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | ||
กลุ่มวัยทำงาน | 29 | |
กลุ่มผู้สูงอายุ | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | ||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | ||
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] |
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
แกนนำสุขภาพสามารถนำความรู้ไปใช้สร้างสุขภาพที่ดีแก่ประชาชนในชุมชนได้
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้ ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์** กิจกรรมของโครงการ | ผลผลิต* | |
---|---|---|
ผลผลิตที่ตั้งไว้ | ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง | |
1. เวทีแลกเปลี่ยนเรียนโครงการอสม. ห่วงใย ครอบครัวใส่ใจสุขภาพ |
||
วันที่ 6 ตุลาคม 2563กิจกรรมที่ทำ
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
|
0 | 0 |
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ | สถานการณ์ | เป้าหมาย | ผลผลิต | อธิบาย | |
---|---|---|---|---|---|
1 | 1. สร้างเครือข่าย“ใช้ยาปลอดภัย อุ่นใจทุกครัวเรือน”เพื่อความเข้มแข็งในการเฝ้าระวังและจัดการยา/ผลิตภัณฑ์สุขภาพในชุมชน ตัวชี้วัด : มีเครือข่ายความเข้มแข็งในการเฝ้าระวังและจัดการยา/ผลิตภัณฑ์สุขภาพในชุมชน 1 เครือข่าย |
80.00 | 80.00 | 80.00 |
|
2 | 2. ลดการใช้ยาปฎิชีวนะโดยไม่จำเป็น ประมวลผลด้วยระบบฐานข้อมูลHosXp ไม่เกินร้อยละ 20 ตัวชี้วัด : จำนวนการใช้ยาปฏิชีวนะโดยไม่จำเป็นลดลง |
20.00 | 20.00 | 20.00 |
|
3 | เพื่อลดอัตราการสูญเสียยาโดยไม่จำเป็น ตัวชี้วัด : อัตราการใช้ยาที่ไม่จำเป็นลดน้อยลง |
20.00 | 20.00 | 20.00 |
|
4 | เพื่อให้ครอบครัวมีความตระหนักถึงอันตรายของการบริโภคโซเดียมที่มากเกินเกณฑ์ ตัวชี้วัด : จำนวนครอบครัวที่ตระหนักถึงอันครายของการบริโภคโซเดียมที่มากเกินเกณฑ์ |
90.00 | 90.00 | 90.00 |
|
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
---|---|---|---|
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด | 29 | 29 | |
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | |||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | - | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | - | ||
กลุ่มวัยทำงาน | 29 | 29 | |
กลุ่มผู้สูงอายุ | - | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | |||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | - | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | - | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | - | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | - | ||
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] | - |
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) 1. สร้างเครือข่าย“ใช้ยาปลอดภัย อุ่นใจทุกครัวเรือน”เพื่อความเข้มแข็งในการเฝ้าระวังและจัดการยา/ผลิตภัณฑ์สุขภาพในชุมชน (2) 2. ลดการใช้ยาปฎิชีวนะโดยไม่จำเป็น ประมวลผลด้วยระบบฐานข้อมูลHosXp ไม่เกินร้อยละ 20 (3) เพื่อลดอัตราการสูญเสียยาโดยไม่จำเป็น (4) เพื่อให้ครอบครัวมีความตระหนักถึงอันตรายของการบริโภคโซเดียมที่มากเกินเกณฑ์
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) ติดตามเยี่ยมบ้าน แลกเปลี่ยนเรียนรู้
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค | สาเหตุ | ข้อเสนอแนะ |
---|---|---|
|
|
|
โครงการ อสม . ห่วงใย ครอบครัวใส่ใจสุขภาพ จังหวัด ตรัง
รหัสโครงการ 63-L8428-02-13
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
( นายสาโรจ จิตรา )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......