กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.นาท่ามใต้


“ โครงการพัฒนาศักยภาพคลินิกเบาหวาน ความดัน ปีงบประมาณ 2563 ”

จังหวัดตรัง

หัวหน้าโครงการ
นางสาวอรณิชชา ยังช่วย

ชื่อโครงการ โครงการพัฒนาศักยภาพคลินิกเบาหวาน ความดัน ปีงบประมาณ 2563

ที่อยู่ จังหวัดตรัง จังหวัด ตรัง

รหัสโครงการ 63-L8428-01-18 เลขที่ข้อตกลง 15/2563

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 4 กุมภาพันธ์ 2563 ถึง 30 กันยายน 2563


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการพัฒนาศักยภาพคลินิกเบาหวาน ความดัน ปีงบประมาณ 2563 จังหวัดตรัง" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน จังหวัดตรัง

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.นาท่ามใต้ ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการพัฒนาศักยภาพคลินิกเบาหวาน ความดัน ปีงบประมาณ 2563



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการพัฒนาศักยภาพคลินิกเบาหวาน ความดัน ปีงบประมาณ 2563 " ดำเนินการในพื้นที่ จังหวัดตรัง รหัสโครงการ 63-L8428-01-18 ระยะเวลาการดำเนินงาน 4 กุมภาพันธ์ 2563 - 30 กันยายน 2563 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 12,600.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.นาท่ามใต้ เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 63 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล (รพ.สต.) เป็นสถานบริการระดับปฐมภูมิ ที่ให้การดูแลสุขภาพประชาชนแบบองค์รวม เน้นบริการหลักในการป้องกันควบคุมโรคไม่ติดต่อ โดยเฉพาะอย่างยิ่ง โรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูง ซึ่งเป็นปัญหาสุขภาพที่สำคัญของพื้นที่ทั่วประเทศที่คอยให้บริการทั้งเชิงรุก และเชิงรับเพื่อลดพฤติกรรมเสี่ยง ลดการ เจ็บป่วย ลดความพิการ และการสูญเสียชีวิตจากโรคไม่ติดต่อการพัฒนาระบบบริการของคลินิกโรคไม่ติดต่อ (NCD) เป็นหัวใจสำคัญเชิงระบบ ส่งผลต่อกระบวนการ และคุณภาพของการให้บริการโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านนาท่าม จึงได้ดำเนินงานคลินิก NCD คุณภาพ (โรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูง) ในโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลขึ้น เพื่อให้ รพ.สต. ประยุกต์ใช้ดำเนินงานพัฒนาคุณภาพของคลินิก NCD ปรับให้เหมาะสม ตามบริบทที่ที่แตกต่างกันนของแต่ละพื้นที่ ตลอดจนสามารถนำไปปรับใช้กับโรคไม่ติดต่ออื่น ๆ ได้ จะเป็นประโยชน์ในการสร้างโอกาสพัฒนาคุณภาพระบบบริการของคลินิก NCD ใน รพ.สต.ต่อไป ปัจจุบันโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านนาท่ามให้บริการผู้ป่วยโรคเรื้อรัง จำนวน293คนแบ่งเป็นผู้ป่วยความดันโลหิตสูง238 คน ผู้ป่วยเบาหวานจำนวน 55คนและมีแนวโน้มผู้ป่วยโรคเบาหวานความดันโลหิตสูงมารับบริการคลินิกโรคเรื้อรังใน รพ.สต. เพิ่มขึ้นเรื่อย ๆ และจากการดำเนินงานรักษาพยาบาลและคัดกรองค้นหาผู้ป่วยเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูงในปี 2562 พบกลุ่มสงสัยเป็นโรคเบาหวาน จำนวน 113 คน และมีผู้ป่วยเบาหวานรายใหม่ จำนวน 3 คนคิดเป็นร้อยละ2.65กลุ่มสงสัยเป็นโรคความดันโลหิตสูง จำนวน 80 คนพบผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูงรายใหม่ จำนวน 7 คนคิดเป็นร้อยละ8.75
ปัจจุบันแม้ว่าการรักษาโรคเบาหวานใน รพ.สต. จะดีขึ้น กล่าวคือ มีแพทย์ออกให้บริการตรวจรักษาถึงในระดับ รพ.สต. บางส่วนแต่ระบบการติดตามดูแลฟื้นฟู การให้ความรู้ เพื่อป้องกันภาวะแทรกซ้อน และการส่งเสริมสุขภาพทั้งทางกาย จิต และสังคม ภายหลังการรักษา ก็ยังมีระบบที่ไม่ดีเพียงพอ ทำให้ผู้ป่วยโรคเรื้อรังดังกล่าว มีภาวะแทรกซ้อน เพิ่มมากขึ้น ดังนั้น รพ.สต.บ้านนาท่ามจึงเล็งเห็นถึงความสำคัญดังกล่าว จึงได้จัดทำการสร้างกระบวนการเรียนรู้ เพื่อสร้างการมีส่วนร่วมในการดูแลตนเองในด้านการรักษาและส่งเสริมสุขภาพของผู้ป่วยเบาหวาน ในคลินิกของหน่วยบริการปฐมภูมิ เพื่อลดภาวะแทรกซ้อนจากโรคต่าง ๆ

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. 1. เพื่อให้ผู้ป่วยได้รับบริการตามเกณฑ์มาตรฐาน
  2. 2. เพื่อให้ผู้ป่วยมีแนวทางในการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม ลดความรุนแรงของโรค โดยใช้แบบประเมินการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม ร้อยละ 80
  3. 3. เพื่อลดภาวะแทรกซ้อนของโรคและสามารถดูแลสุขภาพตนเองอยู่ได้อย่างมีความสุข โดยได้รับการประเมินCVD risk ร้อยละ100

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. จัดคลินิกNCDคุณภาพ

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง 63
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

  1. ผู้ป่วยได้รับบริการตามเกณฑ์มาตรฐาน NCD clinic ร้อยละ100
  2. ผู้ป่วยมีแนวทางในการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม ลดความรุนแรงของโรค โดยใช้แบบประเมินการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม ร้อยละ 80
  3. สามารถลดภาวะแทรกซ้อนของโรคและสามารถดูแลสุขภาพตนเองอยู่ได้อย่างมีความสุข โดยได้รับการประเมินCVD risk ร้อยละ100
  4. ผู้ป่วยโรคเรื้อรังมีสุขภาพดี ห่างไกลจากภาวะแทรกซ้อน

ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

1. จัดคลินิกNCDคุณภาพ

วันที่ 16 กันยายน 2563

กิจกรรมที่ทำ

  1. จัดบริการคลินิกเบาหวาน ความดันโลหิตสูง ทุก 1 เดือน

- ตรวจสุขภาพ ชั่งน้ำหนัก วัดส่วนสูง วัดความดันโลหิต เจาะน้ำตาลในเลือด - ประเมินภาวะสุขภาพและปัญหาสุขภาพ
- ประเมินภาวะสุขภาพจิต - บริการเจาะเลือดประจำปีเพื่อการวินิจฉัยความก้าวหน้าของโรค - บริการตรวจรักษาโดยแพทย์และพยาบาล 2. จัดการเรียนรู้การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ 2.1 กลุ่มควบคุมโรคได้ - ประเมินความรู้เรื่องโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูง
- ประเมินพฤติกรรมการบริโภคอาหาร
- ประเมินพฤติกรรมการออกกำลังกาย - ให้ความรู้รายบุคคล 2.2 กลุ่มควบคุมโรคไม่ได้ - ประเมินความรู้เรื่องโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูง
กิจกรรม
1. ให้ความรู้เรื่องกลไกการเกิดโรค - ประเมินพฤติกรรมการบริโภคอาหาร
กิจกรรม
1. ให้ความรู้เรื่องอาหารกับพลังงานที่สมดุล การเลือกรับประทานอาหารที่เหมาะสม 2. ให้ความรู้เรื่องโซเดียมกับการเกิดความดันโลหิตสูง
3. การติดตามตรวจวัดระดับโซเดียมในอาหารประจำทุกเดือน 4. สาธิตจัดทำน้ำผักผลไม้ปั่นเพื่อสุขภาพ - ประเมินพฤติกรรมการออกกำลังกาย
กิจกรรม 1. กิจกรรมการออกกำลังกายโดยการแกว่งแขน 2. กิจกรรมการออกกำลังกายฤษีดัดตน - จัดพูดคุยแนวทางในการดูแลสุขภาพ และการสร้างแรงจูงใจในการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม แลกเปลี่ยนประสบการณ์การควบคุมระดับความดันโลหิต ระดับน้ำตาลในเลือด -ติดตามเยี่ยมบ้าน ประเมินการปฎิบัติตน

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

1.ผู้ป่วยได้รับบริการตามเกณฑ์มาตรฐานNCD clinic ร้อยละ 100 2.ผู้ป่วยที่ควบคุมโรคไม่ได้เข้าร่วมกิจกรรมการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมและมีค่าคะแนนการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการบริโภคอาหารและการออกกำลังกายเพิ่มขึ้นร้อยละ 99.0 3.ผู้ป่วยคลินิกโรคเรื้อรังได้รับการประเมินCVD risk เพื่อเฝ้าระวังภาวะแทรกซ้อน ร้อยละ100

 

100 0

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 1. เพื่อให้ผู้ป่วยได้รับบริการตามเกณฑ์มาตรฐาน
ตัวชี้วัด : จำนวนผู้ป่วยได้รับบริการตามเกณฑ์มาตรฐาน โดยจัดบริการตามมาตราฐาน NCD clinic ร้อยละ100
100.00 100.00 100.00

 

2 2. เพื่อให้ผู้ป่วยมีแนวทางในการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม ลดความรุนแรงของโรค โดยใช้แบบประเมินการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม ร้อยละ 80
ตัวชี้วัด : จำนวนผู้ป่วยที่ได้รับแนวทางในการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม ลดความรุนแรงของโรค
80.00 80.00 80.00

 

3 3. เพื่อลดภาวะแทรกซ้อนของโรคและสามารถดูแลสุขภาพตนเองอยู่ได้อย่างมีความสุข โดยได้รับการประเมินCVD risk ร้อยละ100
ตัวชี้วัด : จำนวนผู้ป่วยที่สามารถดูแลสุขภาพตนเองได้อย่างมีความสุข
100.00 100.00 100.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 63 63
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง 63 63
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) 1. เพื่อให้ผู้ป่วยได้รับบริการตามเกณฑ์มาตรฐาน (2) 2. เพื่อให้ผู้ป่วยมีแนวทางในการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม ลดความรุนแรงของโรค โดยใช้แบบประเมินการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม ร้อยละ 80 (3) 3. เพื่อลดภาวะแทรกซ้อนของโรคและสามารถดูแลสุขภาพตนเองอยู่ได้อย่างมีความสุข โดยได้รับการประเมินCVD risk ร้อยละ100

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) จัดคลินิกNCDคุณภาพ

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการพัฒนาศักยภาพคลินิกเบาหวาน ความดัน ปีงบประมาณ 2563 จังหวัด ตรัง

รหัสโครงการ 63-L8428-01-18

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นางสาวอรณิชชา ยังช่วย )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด