กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลบางแก้ว


“ โครงการ อสม.เคาะบ้านต้านเบาหวาน/ความดัน ปีงบประมาณ 2563 ”

อำเภอบางแก้ว จังหวัดพัทลุง

หัวหน้าโครงการ
นางจำนวล แป้นเนียม

ชื่อโครงการ โครงการ อสม.เคาะบ้านต้านเบาหวาน/ความดัน ปีงบประมาณ 2563

ที่อยู่ อำเภอบางแก้ว จังหวัดพัทลุง จังหวัด พัทลุง

รหัสโครงการ เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 เมษายน 2563 ถึง 31 กรกฎาคม 2563


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการ อสม.เคาะบ้านต้านเบาหวาน/ความดัน ปีงบประมาณ 2563 จังหวัดพัทลุง" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน อำเภอบางแก้ว จังหวัดพัทลุง

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลบางแก้ว ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการ อสม.เคาะบ้านต้านเบาหวาน/ความดัน ปีงบประมาณ 2563



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการ อสม.เคาะบ้านต้านเบาหวาน/ความดัน ปีงบประมาณ 2563 " ดำเนินการในพื้นที่ อำเภอบางแก้ว จังหวัดพัทลุง รหัสโครงการ ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 เมษายน 2563 - 31 กรกฎาคม 2563 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 13,420.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลบางแก้ว เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

ปัจจุบันโรคไม่ติดต่อดดยเฉพาะภาวะความดันโลหิตสูงและโรคเบาหวานเป็นปัญหาสาธารณสุขที่สำคัญและเร่งด้วนของประเทศ ทั้งนี้สืบเนื่องมาจากกระแสการเปลี่ยนแปลงต่างๆทั้งจากภายนอกและภายในประเทศไม่ว่การเปลี่ยนแปลงด้านสังคม เศรษฐกิจ การเมอืง การพัฒนาด้านเทคโนโลยีต่างๆ ซึ่งส่งผลกระทบต่อสภาวะแวดล้อมการดำเนินชีวิต ความเป็นอยู่ และภาวะสุขภาพของประชาชน ทำให้ประชาชนมีภาวะเสี่ยงต่อการเจ็บป่วยมากขึ้น จากปัจจัยต่างๆ เช่น พฤติกรรมการบริโภคอาหารไม่ถูกสุขลักษณะ ขาดการออกกำลังกาย การสูบบุหรี่ การดื่มเครื่องดื่มที่มีแอลกอฮล์ ดื่มชา กาแฟ ความเครียด เป็นต้น   จากข้อมูลการเจ็บป่วยด้วยโรคเบาหวานความดันของประชากรในเขตรับผิดชอบโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านท่ามะเดื่อ ปีงบประมาณ 2563 พบว่ามีผู้ป่วยโรคเบาหวานจำนวน 40 คน และผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูงจำนวน 112 คน (ข้อมลในระบบ JHCIS 3 มีนาคม 2563) จากการคัดกรองโรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูงประจำปี 2563 พบกลุ่มสงสัยป่วยเบาหวาน จำนวน 20 คน และกลุ่มสงสัยป่วยความดันโลหิตสูงจำนวน 53 คน ซึ่งเป็นปัญหาในพื้นที่ จากสถานการณ์ดังกลาาวเห็นได้ว่าประชาชนในพื้นที่รับผิดชอบมีความเสี่ยงต่อการเกิดภาวะโรคความดันโลหิตสูงและเบาหวาน ดังนั้นการป้องกันภาวะความดันโลหิตสูงและโรคเบาหวานในประชาชนที่มีความเสี่ยงสูงจุึงเป็นแนวทางหนึ่งที่สำคัญเพื่อลดอุบัติการณ์และความรุนแรงของโรคทาง รพ.สต.บ้านท่ามะเดื่อ และอาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้าน ได้ตระหนักถึงความสำคัญของปัญหาดังกล่าวจึงได้จัดทำโครงการ อสม.เคาะบ้านต้านเบาหวาน/ความดัน ทั้งนี้ เพื่อประเมินสถานการณ์และแนวโน้มของการเจ็บป่วย อันจะเป็นแนวทางในการวางแผน กำหนดนโยบายในการควบคุมป้องกัน และลดอัตราป่วยรายใหม่ด้วยโรคความดันโลหิตสูงและโรคเาหว่นในประชาชนกลุ่มเสี่ยงรวมทั้งพัฒนาศักยภาพอสม.ให้เกิดทักษะในการค้นหาเฝ้าระวังกลุ่มเสี่ยงกลุ่มป่วยของโรคดังกล่าวในชุมชนต่อไป

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. 1.เพื่อพัฒนาศักยภาพของอสม.ในเรื่องความดันโลหิตสูงและโรคเบาหวานและสามารถใช้เครื่องมือในการคัดกรองได้อย่างถูกต้อง 2.เพื่อให้กลุ่มเสี่ยงโรคความดันโลหิตสูงและโรคเบาหวานได้รับการคัดกรองตามมาตรฐานและส่งต่อในรายที่ผิดปกติ 3.เพื่อให้กลุ่มเสี่ยงสามารถลดระดับน้ำตาลในเลือดและระดับความดันโลหิตให้อยู่ในเกณฑ์ปกติได้ 4.เพื่อลดอัตรป่วยโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูงรายใหม่

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. อสม.เคาะบ้านต้านเบาหวาน/ความดัน ปีงบประมาณ 2563

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน 63
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

1.ประชากรกลุ่มเสี่ยงสูงและสงสัยป่วยด้วยโรคเบาหวาน ความโลหิตสูงได้รับการส่งต่อเพื่อรับการรักษาที่ถูกต้องทันเวลา 2.กลุ่มเสี่ยงโรคเบาวหวาน/ความดันโลหิตสูงได้รับความรู้ในการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมเพื่อป้องกันโรคและได้รับการตรวจติดตาม 3.กลุ่มป่วยด้วยโรคเบาหวาน/ความดันโลหิตสูงได้รับการดูแลให้รับการรักษาอย่างต่อเนื่องเพื่อป้องกันภาวะแทรกซ้อนต่างๆเช่น โรคหลอดเลือดสมอง โรคหลอดเลือดหัวใจ ภาวะไตวาย เป็นต้น 4.อสม.มีศักยภาพในการคัดกรองให้คำแนะนำและติดตามเฝ้าระวังกลุ่มเสี่ยงและกลุ่มป่วยโรคเบาหว่นและโรคความดันโลหิตสูงในชุมชน 5.ลดอัตราป่วยโรคเบาวหวานและโรคความดันโลหิตสูงรายใหม่


ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

1. อสม.เคาะบ้านต้านเบาหวาน/ความดัน ปีงบประมาณ 2563

วันที่ 7 กรกฎาคม 2563

กิจกรรมที่ทำ

ติดตามวัดความดันโลหิตสูงต่อต่อกัน 7 วัน ติดตามในชุมชน และได้รับการส่งต่อโดยอสม.

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

-อสม.ได้รับการพัฒนาศักยภาพ ในเรื่องการควบคุมป้องกันโรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูง สามารถใช้เครื่องมือในการคัดกรองได้อย่างถูกต้อง จำนวน 28 คน และมีการติดตามวัดความดันโลหิตและครวจน้ำตาลในเลือดเพื่อเฝ้าระวังพร้อมให้ความรู้แก่กลุ่มเสี่ยงโรคความดันโลหิตสูงและโรคเบาหวานในเขตรับผิดชอบอย่างต่อเนื่องทุกเดือน -กลุ่มสงสัยป่วยความดันโลหิตสูงได้รับการคัดกรองตามมาตรฐาน โดย อสม. ติดตามวัดความดันที่บ้านติดต่อกัน 7 วัน จำนวน 54 ราย และส่งต่อเพื่อรับการตรวจคัดกรองโดยเจ้าหน้าที่ท่ี่รพ.สต.จำนวน 12 ราย พบผู้ป่วยความดันสูงรายใหม่ จำนวน 5 ราย -กลุ่มสงสัยป่วยเบาหวาน ได้รับการติดตามในชุมชนจำนวน 24 ราย และได้รับส่งต่อโดย อสม.เพื่อรับการตรวจคัดกรองโดยเจ้าหน้าที่ที่รพ.สต. จำนวน 17 ราย พบผู้ป่วยเบาหวานรายใหม่จำนวน 4 ราย -ประชาชนกลุ่มป่วยโรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูงสามารถควบคุมระดับน้ำตาลในเลือดและควบคุมระดับความดันโลหิตให้อยู่ในระดับปกติได้ตามเกณฑ์ -ชุมชนและภาคีเครือข่ายมีส่วนร่วมในการควบคุมป้องกันโรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูงซึ่งเป็นปัญหาสำคัญในพื้นที่

 

28 0

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 1.เพื่อพัฒนาศักยภาพของอสม.ในเรื่องความดันโลหิตสูงและโรคเบาหวานและสามารถใช้เครื่องมือในการคัดกรองได้อย่างถูกต้อง 2.เพื่อให้กลุ่มเสี่ยงโรคความดันโลหิตสูงและโรคเบาหวานได้รับการคัดกรองตามมาตรฐานและส่งต่อในรายที่ผิดปกติ 3.เพื่อให้กลุ่มเสี่ยงสามารถลดระดับน้ำตาลในเลือดและระดับความดันโลหิตให้อยู่ในเกณฑ์ปกติได้ 4.เพื่อลดอัตรป่วยโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูงรายใหม่
ตัวชี้วัด :
1.00 0.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 63 63
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน 63 63
กลุ่มผู้สูงอายุ 0
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) 1.เพื่อพัฒนาศักยภาพของอสม.ในเรื่องความดันโลหิตสูงและโรคเบาหวานและสามารถใช้เครื่องมือในการคัดกรองได้อย่างถูกต้อง 2.เพื่อให้กลุ่มเสี่ยงโรคความดันโลหิตสูงและโรคเบาหวานได้รับการคัดกรองตามมาตรฐานและส่งต่อในรายที่ผิดปกติ 3.เพื่อให้กลุ่มเสี่ยงสามารถลดระดับน้ำตาลในเลือดและระดับความดันโลหิตให้อยู่ในเกณฑ์ปกติได้ 4.เพื่อลดอัตรป่วยโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูงรายใหม่

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) อสม.เคาะบ้านต้านเบาหวาน/ความดัน ปีงบประมาณ 2563

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการ อสม.เคาะบ้านต้านเบาหวาน/ความดัน ปีงบประมาณ 2563 จังหวัด พัทลุง

รหัสโครงการ

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นางจำนวล แป้นเนียม )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด