กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.จะแนะ


“ โครงการ/กิจกรรม: ติดตามผู้ป่วยฟื้นฟูสมรรถภาพปอดในผู้ป่วยและปรับเปลี่ยนพฤติกรรมในผู้ป่วยปอดอุดกั้นเรื้อรัง ”

ตำบลจะแนะ อำเภอจะแนะ จังหวัดนราธิวาส

หัวหน้าโครงการ
นางนิมลต์หะยีนิมะ

ชื่อโครงการ โครงการ/กิจกรรม: ติดตามผู้ป่วยฟื้นฟูสมรรถภาพปอดในผู้ป่วยและปรับเปลี่ยนพฤติกรรมในผู้ป่วยปอดอุดกั้นเรื้อรัง

ที่อยู่ ตำบลจะแนะ อำเภอจะแนะ จังหวัดนราธิวาส จังหวัด นราธิวาส

รหัสโครงการ เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 5 พฤษภาคม 2560 ถึง 29 กันยายน 2560


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการ/กิจกรรม: ติดตามผู้ป่วยฟื้นฟูสมรรถภาพปอดในผู้ป่วยและปรับเปลี่ยนพฤติกรรมในผู้ป่วยปอดอุดกั้นเรื้อรัง จังหวัดนราธิวาส" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลจะแนะ อำเภอจะแนะ จังหวัดนราธิวาส

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.จะแนะ ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการ/กิจกรรม: ติดตามผู้ป่วยฟื้นฟูสมรรถภาพปอดในผู้ป่วยและปรับเปลี่ยนพฤติกรรมในผู้ป่วยปอดอุดกั้นเรื้อรัง



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการ/กิจกรรม: ติดตามผู้ป่วยฟื้นฟูสมรรถภาพปอดในผู้ป่วยและปรับเปลี่ยนพฤติกรรมในผู้ป่วยปอดอุดกั้นเรื้อรัง " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลจะแนะ อำเภอจะแนะ จังหวัดนราธิวาส รหัสโครงการ ระยะเวลาการดำเนินงาน 5 พฤษภาคม 2560 - 29 กันยายน 2560 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 85,000.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.จะแนะ เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

โรคปอดอุดกั้นเรื้อรัง เป็นโรคที่พบบ่อย ซึ่งเกิดจากสาเหตุการสูบบุหรี่ที่ยังคงสูบอย่างต่อเนื่องก่อให้เกิดภาวการณ์สูญเสียสุขภาพ ผู้ป่วยที่เป็นโรคจะมีคุณภาพชีวิตที่ลดลงไม่สามารถทำงานหรือทำกิจกรรมได้เช่นคนปกติ มีอาการโรคกำเริบบ่อยครั้ง มีอาการหายใจลำบาก เนื่องจากสมรรถนะภาพปอดลดลง ทำให้ต้องมารับการรักษาที่แผนกห้องฉุกเฉิน และนอนรับการรักษาในโรงพยาบาล และในที่สุดต้องใช้เครื่องหายใจ หรือรุนแรงถึงขั้นเสียชีวิตได้ ซึ่งต้องสูญเสียค่าใช้จ่ายในการรักษาจำนวนมาก ซึ่งเป็นภาระของผู้ป่วย ของโรงพยาบาล ทั้งนี้โรงพยาบาลจะแนะต้องสูญเสียค่าใช้จ่ายในการรักษาในโรงพยาบาล พบจำนวนผู้ป่วยที่มาเข้ารับการรักษาเป็นผู้ป่วยในด้วยภาวะ Ac Exacerbation ในปี ๒๕๕๖- ๒๕๕๙ เป็น๓๑และ ๒๐ , ๑๕ , ๑๖และ ๖ตามลำดับ อัตราการ Readmission โรคปอดอุดกั้นเรื้อรังในปี ๒๕๕๖-๒๕๕๙ พบเป็น ๒.๑๓,๑.๑๙,๓.๒๐และ๔.๒ ตามลำดับ แสดงให้เห็นถึงแนวโน้มของผู้ป่วยที่สามารถควบคุมโรคได้ดีขึ้นจากการดำเนินงานฟื้นฟูสมรรถภาพปอดในผู้ป่วยและปรับเปลี่ยนพฤติกรรมในผู้ป่วยปอดอุดกั้นเรื้อรังทำให้ลดความเสี่ยงที่เกิดขึ้นโดยตรงต่อชีวิตผู้ป่วยทั้งทางด้านจิตใจ อารมณ์ สังคม และเศรษฐกิจ เมื่อผู้ป่วยมีอาการกำเริบ ซึ่งถ้ามีการดูแลฟื้นฟูสมรรถภาพปอดในผู้ป่วยได้จะสามารถควบคุมโรคและลดภาวะการหายใจลำบากได้ จะสามารถลดความกดดันจากการใช้ชีวิต ทำให้มีความพึงพอใจ รับรู้ความสุขในชีวิตเพิ่มมากขึ้นแต่การReadmission เพิ่มสูงขึ้นเนื่องจากเป็นผู้ป่วยคนเดิมๆ เกิดจากสภาพแวดล้อมที่บ้านมีฝุ่นควันจากการเผาถ่าน ดังนั้นในการดำเนินงานเพื่อควบคุมโรคจำเป็นอย่างยิ่งที่ต้องใช้กรอบแนวคิดของต้นแบบการดูแลผู้ป่วยโรคเรื้อรัง (Chronic Care Model) โดยมีการพัฒนากระบวนการดูแลผู้ป่วยโรคปอดอุดกั้นเรื้อรังแบบผสมผสาน ทั้งระบบงานภายในโรงพยาบาลและการดูแลต่อเนื่องในชุมชน ด้วยการมีส่วนร่วมของเครือข่ายบริการสุขภาพและองค์การปกครองส่วนท้องถิ่น ช่วยกระตุ้นและส่งเสริมการฟื้นฟูสมรรถภาพปอด เน้นการดูแลตนเองของผู้ป่วยและส่งเสริมให้ญาติมีส่วนร่วมในการดูแลผู้ป่วยจนเกิดผลลัพธ์ในการดูแลรักษาที่มีประสิทธิผลและประสิทธิภาพ ด้วยเหตุดังกล่าว โรงพยาบาลจะแนะ เห็นความสำคัญของการฟื้นฟูสมรรถภาพปอดในผู้ป่วยโดยชุมชนมีส่วนร่วม จึงจัดทำโครงการฟื้นฟูสมรรถภาพปอดในผู้ป่วยและปรับเปลี่ยนพฤติกรรมในผู้ป่วยปอดอุดกั้นเรื้อรังขึ้นและดำเนินการอย่างต่อเนื่อง

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. ๑. ผู้ป่วยโรคปอดอุดกั้นเรื้อรังสามารถควบคุมโรคได้
  2. ๒. เพื่อลดภาวะแทรกซ้อนเฉียบพลันจากโรคปอดอุดกั้นเรื้อรัง
  3. สร้างกระแสการส่งเสริมสุขภาพและปรับเปลี่ยนพฤติกรรมในกลุ่มผู้ป่วย
  4. ๔. พัฒนาการดูแลผู้ป่วยโรคปอดอุดกั้นเรื้อรังแบบผสมผสานและต่อเนื่องถึงชุมชน

กิจกรรม/การดำเนินงาน

    กลุ่มเป้าหมาย

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
    กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
    กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
    กลุ่มวัยทำงาน
    กลุ่มผู้สูงอายุ
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
    กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
    กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
    กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
    กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
    สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

    ผลที่คาดว่าจะได้รับ

    ๑. ผู้ป่วยรับรู้วิธีการส่งเสริมสุขภาพเพื่อการคุมโรคโดยใช้หลัก ๓อ. ๒ส.สามารถควบคุมโรคได้ ๒. เกิดกลุ่มครัวเรือนดูแลผู้ป่วยโดยครอบครัวมีส่วนร่วม ๓. ผู้ป่วยได้รับการฟื้นฟูสมรรถภาพปอด เพื่อลดและชะลอการเกิดภาวะแทรกซ้อนจากโรค
    ๔. แกนนำผู้ป่วย และชุมชนมีส่วนร่วมในการวางแผนดูแลติดตามผู้ป่วยโรคปอดอุดกั้นเรื้อรัง


    ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

    วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
    ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
    กิจกรรมของโครงการ
    ผลผลิต*
    ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

    1. จัดประชุมเชิงปฏิบัติการเครือข่ายชุมชน เช่น ผู้นำชุมชน อสม ร่วมวางแผนดูแลและ

    วันที่ 13 กรกฎาคม 2560 เวลา 08:30 น.

    กิจกรรมที่ทำ

     

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    จัดประชุมเชิงปฏิบัติการเครือข่ายชุมชน เช่น ผู้นำชุมชน อสม ร่วมวางแผนดูแลและ การดูแลติดตาม เสริมพลังทั้งผู้ป่วยแลญษต รวมถึง การประชาสัมพันธ์ ผู้ป่วยปอดอุกั้นเร้ือรัง เข้าถึงการฟื้นฟู สมรรถภาพปอด พบว่ายังขาดความเข้าใจในการ สือสาร การประชาสันธ์ถึงโรค และความสำคัญของโรคปอดอุดกั้นเรื้อ เป็นโรคอย่างไรจำเป็นต้องได้รับการฟื้นฟูสภาพปอด รวมถึง การป้องกัน รักษาปอดเช่นการงดหรือลดบุหรี่ อาหารพลังงานสูงการบีิหารปอด ด้วยการ ทำ rehapหลังการจัดประชุมเสร็จสิ้น พบว่าผู้นำชุมชน อสมเข้าใจในโรคบอดอุดกั้นเรื้อรัง รู้วิธืการสือสารเชิงบวก เพื่ิโโน้มน้าว แนะนำ ผู้ป่วย ให้สามารถ ดูแลตนเองได้ปอดมีผู้เข้าร่วมทั้งหมด 100 คน
    ทุกคนที่เข้าร่วมอบรม มีความสนใจ เกิดเป็นแกนนำ ดูแลผูป่วยโรคเรื้อรัง ในชุมชน ของแต่ละตำบลซึ่งสามารถให้ความรู้ แนะนำการดุแลตนเองให้ผู้ป่วยในชุมชนได้

     

    100 100

    2. ๓ ประกวด model ประกวดพื้นที่เข้าถึงการดูแลด้วยเครือข่ายในการฟื้นฟู

    วันที่ 17 กรกฎาคม 2560 เวลา 08:30 น.

    กิจกรรมที่ทำ

     

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    ไม่ได้ประกวดตามแผนงาน

     

    100 0

    3. ฟื้นฟูสมรรถภาพปอดโดยในผู้ป่วยและปรับเปลี่ยนพฤติกรรมในผู้ป่วยปอดอุดกั้นเรื้อรัง และตลาดนัดความรู้ในผู้ป่วยและครอบครัว

    วันที่ 1 สิงหาคม 2560 เวลา 08:30 น.

    กิจกรรมที่ทำ

     

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    ฟื้นฟูสมรรถภาพปอดโดยในผู้ป่วยและปรับเปลี่ยนพฤติกรรมในผู้ป่วยปอดอุดกั้นเรื้อรัง และตลาดนัดความรู้ในผู้ป่วยและครอบครัว  พบว่า มีผู้เข้าร่วมประชุม อบรม จำนวน 50คน จากการสอบถาม ผู้ป่วยมีความรู้ความเข้าใจในโรคปอดอุดกั้นเรื้อรัง และเห็นความสำคัยของการ งดบุหรี่  มีความรู้เรื่องการบริโภคอาหาร การออกกำลังกาย โดยการเดิน 6 นาที่ เพื่อตรวจสอบสภาพปอด จากการตรวจสอบ หลังรับการอบรม สามารถควบคุโรคได้เพิ่มขึ้น  30 คน คิดเป็รร้อยละ 60

     

    100 50

    * ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
    ** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


    ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

    ผลการดำเนินโครงการ

    สรุปผลการดำเนินโครงการ

    ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
    บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
    บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
    ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

    ๑ จัดประชุมเชิงปฏิบัติการเครือข่ายชุมชน เช่น ผู้นำชุมชน อสม ร่วมวางแผนดูแลและ การติดตาม การสนับสนุนการดูแลตนเอง  เน้นการเสริมพลังทั้งผู้ป่วยและญาติ รวมถึงการประชาสัมพันธ์ผู้ป่วยปอดอุกั้นเรื้อรังเข้าถึงการฟื้นฟูสมรรถภาพปอด  มีผู้เข้าร่วมทั้งหมด 100 คน
    ทุกคนที่เข้าร่วมอบรม มีความสนใจ เกิดเป็นแกนนำ ดูแลผูป่วยโรคเรื้อรัง ในชุมชน ของแต่ละตำบล  ซึ่งสามารถให้ความรู้ แนะนำการดุแลตนเองให้ผู้ป่วยในชุมชนได้

    ๒ ฟื้นฟูสมรรถภาพปอดโดยในผู้ป่วยและปรับเปลี่ยนพฤติกรรมในผู้ป่วยปอดอุดกั้นเรื้อรัง และตลาดนัดความรู้ในผู้ป่วยและครอบครัว  พบว่า มีผู้เข้าร่วมประชุม อบรม จำนวน 50คน จากการสอบถาม ผู้ป่วยมีความรู้ความเข้าใจในโรคปอดอุดกั้นเรื้อรัง และเห็นความสำคัยของการ งดบุหรี่  มีความรู้เรื่องการบริโภคอาหาร การออกกำลังกาย โดยการเดิน 6 นาที่ เพื่อตรวจสอบสภาพปอด จากการตรวจสอบ หลังรับการอบรม สามารถควบคุโรคได้เพิ่มขึ้น  30 คน คิดเป็รร้อยละ 60 

    ผลผลิตโครงการ

    วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
    1 ๑. ผู้ป่วยโรคปอดอุดกั้นเรื้อรังสามารถควบคุมโรคได้
    ตัวชี้วัด :

     

    2 ๒. เพื่อลดภาวะแทรกซ้อนเฉียบพลันจากโรคปอดอุดกั้นเรื้อรัง
    ตัวชี้วัด :

     

    3 สร้างกระแสการส่งเสริมสุขภาพและปรับเปลี่ยนพฤติกรรมในกลุ่มผู้ป่วย
    ตัวชี้วัด :

     

    4 ๔. พัฒนาการดูแลผู้ป่วยโรคปอดอุดกั้นเรื้อรังแบบผสมผสานและต่อเนื่องถึงชุมชน
    ตัวชี้วัด :

     

    ผู้เข้าร่วมโครงการ

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 0
    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
    กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
    กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
    กลุ่มวัยทำงาน -
    กลุ่มผู้สูงอายุ -
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
    กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
    กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
    กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
    กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
    สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

    บทคัดย่อ*

    โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) ๑. ผู้ป่วยโรคปอดอุดกั้นเรื้อรังสามารถควบคุมโรคได้ (2) ๒. เพื่อลดภาวะแทรกซ้อนเฉียบพลันจากโรคปอดอุดกั้นเรื้อรัง (3) สร้างกระแสการส่งเสริมสุขภาพและปรับเปลี่ยนพฤติกรรมในกลุ่มผู้ป่วย (4) ๔. พัฒนาการดูแลผู้ป่วยโรคปอดอุดกั้นเรื้อรังแบบผสมผสานและต่อเนื่องถึงชุมชน

    ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่

    ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

    หมายเหตุ *

    • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
    • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

    ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

    ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

     

     

     


    โครงการ/กิจกรรม: ติดตามผู้ป่วยฟื้นฟูสมรรถภาพปอดในผู้ป่วยและปรับเปลี่ยนพฤติกรรมในผู้ป่วยปอดอุดกั้นเรื้อรัง จังหวัด นราธิวาส

    รหัสโครงการ

    ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

    ................................
    ( นางนิมลต์หะยีนิมะ )
    ผู้รับผิดชอบโครงการ
    ......./............/.......

    vertical_align_topไปบนสุด