กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ละงู


“ โครงการรวมพลังป้องกันและควบคุมการระบาดโรคไวรัสโคโรนา (COVID-19)ชาวนาพญา ”

ตำบลละงู อำเภอละงู จังหวัดสตูล

หัวหน้าโครงการ
นายตารอด ใบหลำ

ชื่อโครงการ โครงการรวมพลังป้องกันและควบคุมการระบาดโรคไวรัสโคโรนา (COVID-19)ชาวนาพญา

ที่อยู่ ตำบลละงู อำเภอละงู จังหวัดสตูล จังหวัด สตูล

รหัสโครงการ 63-L5313-02-24 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 มิถุนายน 2563 ถึง 20 กันยายน 2563


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการรวมพลังป้องกันและควบคุมการระบาดโรคไวรัสโคโรนา (COVID-19)ชาวนาพญา จังหวัดสตูล" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลละงู อำเภอละงู จังหวัดสตูล

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ละงู ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการรวมพลังป้องกันและควบคุมการระบาดโรคไวรัสโคโรนา (COVID-19)ชาวนาพญา



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการรวมพลังป้องกันและควบคุมการระบาดโรคไวรัสโคโรนา (COVID-19)ชาวนาพญา " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลละงู อำเภอละงู จังหวัดสตูล รหัสโครงการ 63-L5313-02-24 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 มิถุนายน 2563 - 20 กันยายน 2563 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 28,080.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ละงู เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

โรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) ซึ่งย่อมาจาก “Coronavirus disease 2019” เป็นตระกูลเดียวกับโรคซาร์ส (SARS) ที่ระบาดเมื่อปี 2545 ทำให้เกิดโรคทางเดินหายใจอักเสบเฉียบพลัน ปอดอักเสบและมีภาวะแทรกซ้อน พบแหล่งกำเนิดจากเมืองอู่ฮั่น มณฑลหูเป่ย สาธารณรัฐประชาชนจีน จากที่มีผู้ป่วยมีอาการคล้ายปอดอักเสบและไข้หวัดใหญ่เป็นจำนวนมาก จึงมีการเก็บตัวอย่างของคนไข้เหล่านี้ไปถอดรหัสพันธุกรรมและได้พบว่าเป็นเชื้อไวรัสสายพันธุ์ใหม่ในชื่อ ไวรัสโคโรนา ซึ่งเป็นสายพันธุ์ที่ 7 ที่ถูกค้นพบ เป็นตระกูลเดียวกับโรคซาร์ส (SARS) และเมอร์ส (MERS) และองค์การอนามัยโลกได้ประกาศให้การระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) เป็น “ภาวะฉุกเฉินด้านสาธารณสุขระหว่างประเทศ” เนื่องจากเชื้อไวรัสดังกล่าวได้มีการแพร่ระบาดไปยังประเทศต่างๆ ทั่วโลกอย่างรวดเร็ว ตลอดจนประเทศไทย กระทรวงสาธารณสุขได้มีประกาศให้โรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) เป็นโรคติดต่ออันตรายตามพระราชบัญญัติโรคติดต่ออันตรายตามพระราชบัญญัติโรคติดต่อ พ.ศ. 2558 เพื่อประโยชน์ในการเฝ้าระวัง ป้องกัน และควบคุมโรคติดต่ออันตราย ขณะนี้เกิดการระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) ที่มีการระบาดใหญ่ (Pandemic) ไปทั่วโลก (ตามประกาศขององค์การอนามัยโลก, 11 มีนาคม 2563) และประเทศไทยมีผู้ป่วยสะสม ณ วันที่ 27 มีนาคม 2563 จำนวน 1,045 ราย เสียชีวิต 4 ราย ทั้งนี้ยังปรากฏผู้ป่วยในจังหวัดที่มีอาณาเขตติดต่อกับจังหวัดสตูล ได้แก่จังหวัดตรัง และจังหวัดสงขลา ทั้งนี้ประชาชนในพื้นที่บ้านห้วยไทร หมู่ที่ 10 ตำบลละงู มีญาติที่ไปประกอบอาชีพ ณ ประเทศมาเลเซีย ซึ่งเป็นประเทศที่ถูกประกาศให้เป็นพื้นที่ระบาดอย่างต่อเนื่อง (WHO : 22 มีนาคม 2563)
จากข้อมูลสถานการณ์โรคจะเห็นได้ว่าประชาชนในพื้นที่บ้านนาพญามีความเสี่ยงที่จะเกิดโรคดังกล่าว คณะกรรมการหมู่บ้านนาพญา จึงได้จัดทำโครงการรวมพลังป้องกันและควบคุมการระบาดโรคไวรัสโคโรนา (COVID-19) ชาวนาพญา ขึ้นเพื่อเร่งดำเนินการป้องกัน ควบคุมการแพร่กระจายโรค และการสร้างสุขนิสัยส่วนบุคคลให้ถูกต้อง รวมถึงให้ข้อมูลที่ถูกต้องและคัดกรองภาวะเสี่ยงแก่ประชาชนในพื้นที่ ช่วยลดผลกระทบในด้านเศรษฐกิจและสังคมต่อไป

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อคัดกรองสุขภาพประชาชนกลุ่มเสี่ยงและมีอาการเข้าได้ตามนิยามของโรค covid-19
  2. ข้อที่ 2. เพื่อจัดหาวัสดุ อุปกรณ์ทางการแพทย์ เคมีภัณฑ์ป้องกันควบคุมโรคCOVID-19

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. ประชุมเตรียมความพร้อมคณะทำงาน
  2. จัดหาวัสดุ อุปกรณ์ทางการแพทย์ เคมีภัณฑ์ป้องกันควบคุมโรค COVID-19
  3. 2. จัดตั้งจุดคัดกรองสุขภาพประจำหมู่บ้าน/มัสยิด

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

  1. ประชาชนมีความตระหนักในการป้องกันตนเองในระดับบุคคล ครอบครัว และชุมชน
    1. ไม่พบผู้ป่วยในพื้นที่ และมีระบบเฝ้าระวังอาการผู้ป่วยที่เข้าได้ตามนิยามโรคอย่างมีประสิทธิภาพ

ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

1. จัดหาวัสดุ อุปกรณ์ทางการแพทย์ เคมีภัณฑ์ป้องกันควบคุมโรค COVID-19

วันที่ 25 มิถุนายน 2563

กิจกรรมที่ทำ

จัดซื้อวัสดุอุปกรณ์ เคมีภัณฑ์ สำหรับควบคุมและป้องกันโรคไวรัสโคโรน่า

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

จัดซื้อ
-หน้ากากอนามัย 5 กล่องๆละ 600 บาท เป็นเงิน 3,000 บาท
-แอลกอฮอล์ล้างมือ 2 แกลลอนๆละ 1,790 บาท เป็นเงิน 3,580 บาท
-เครื่องวัดไข้อินฟาเรดทางหน้าผาก 2 ตัวๆละ 4,000 บาท เป็นเงิน 8,000 บาท
-เจลล้างมือ 200 ขวดๆละ 10 บาท เป็นเงิน 2,000 บาท
รวามทั้งสิ้น 16,580 บาท

 

0 0

2. ประชุมเตรียมความพร้อมคณะทำงาน

วันที่ 26 มิถุนายน 2563

กิจกรรมที่ทำ

ประชุมเตรียมความพร้อมคณะทำงานประกอบด้วย อสม. เจ้าหน้าที่รพ.สต. ประจำหมู่บ้าน กำนันประจำตำบลละงู ผู้ช่วยฝ่ายปกครอง และผรส.บ้านในเมือง จำนวน 15 คน

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

มีการประชุมเตรียมความพร้อมคณะทำงาน ประกอบด้วย กิจกรรมย่อย ได้แก่
-อบรมพัฒนาศักยภาพคณะทำงาน
-จัดทำแผนงาน
-มอบหมายงาน
ประชุมคณะทำงานจำนวน 15 คน ชี้แจงทำความเข้าใจโครงการให้กับคณะทำงานได้ทราบวัตถุประสงค์และความเป็นมาของโครงการ ได้มีการวางแผนการขับเคลื่อนการทำงานโครงการร่วมกัน และมอบหมายงานรับผิดชอบ
ค่าใช้จ่ายในกิจกรรม
-ค่าอาหารกลางวัน จำนวน 15 คนๆละ 50 บาท เป็นเงิน 750 บาท
-ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม จำนวน 15 คนๆละ 2 มื้อๆละ 25 บาท เป็นเงิน 750 บาท
-ค่าจัดทำป้ายไวนิลจุดคัดกรอง จำนวน 5 ป้ายๆละ 500 บาท เป็นเงิน 2,500 บาท รวมทั้งสิ้น 4,000 บาท

 

0 0

3. 2. จัดตั้งจุดคัดกรองสุขภาพประจำหมู่บ้าน/มัสยิด

วันที่ 27 มิถุนายน 2563

กิจกรรมที่ทำ

ตั้งจุดคัดกรองในหมู่บ้าน ตั้งแต่วันที่ 26 มิย. - 26 กค. 63

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ตั้งจุดคัดกรองในหมู่บ้าน ตั้งแต่วันที่ 26 มิย. - 26 กค. 63
- ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม วันละ 1 มื้อๆละ 25 บาท จำนวน 10 คน จำนวน 30 วัน
เป็นเงิน 7,500 บาท

 

0 0

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เพื่อคัดกรองสุขภาพประชาชนกลุ่มเสี่ยงและมีอาการเข้าได้ตามนิยามของโรค covid-19
ตัวชี้วัด : มีจุดบริการคัดกรองสุขภาพประจำวัน อย่างน้อย 1 ชุดในหมู่บ้าน
0.00

 

2 ข้อที่ 2. เพื่อจัดหาวัสดุ อุปกรณ์ทางการแพทย์ เคมีภัณฑ์ป้องกันควบคุมโรคCOVID-19
ตัวชี้วัด : มีอุปกรณ์สนับสนุนการดำเนินการในการจัดบริการตามแผน
0.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 0
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 0
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อคัดกรองสุขภาพประชาชนกลุ่มเสี่ยงและมีอาการเข้าได้ตามนิยามของโรค covid-19 (2) ข้อที่ 2. เพื่อจัดหาวัสดุ อุปกรณ์ทางการแพทย์ เคมีภัณฑ์ป้องกันควบคุมโรคCOVID-19

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) ประชุมเตรียมความพร้อมคณะทำงาน (2) จัดหาวัสดุ อุปกรณ์ทางการแพทย์ เคมีภัณฑ์ป้องกันควบคุมโรค COVID-19 (3) 2. จัดตั้งจุดคัดกรองสุขภาพประจำหมู่บ้าน/มัสยิด

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการรวมพลังป้องกันและควบคุมการระบาดโรคไวรัสโคโรนา (COVID-19)ชาวนาพญา จังหวัด สตูล

รหัสโครงการ 63-L5313-02-24

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นายตารอด ใบหลำ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด