กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลคลองทรายขาว


“ โครงการส่งเสริมสุขภาพ ๓ กลุ่มวัย แบบแบบองค์รวม ประจำปี ๒๕๖๓ ”

ตำบลคลองทรายขาว อำเภอกงหรา จังหวัดพัทลุง

หัวหน้าโครงการ
นายพิเชษฐ์ เขียดนิล

ชื่อโครงการ โครงการส่งเสริมสุขภาพ ๓ กลุ่มวัย แบบแบบองค์รวม ประจำปี ๒๕๖๓

ที่อยู่ ตำบลคลองทรายขาว อำเภอกงหรา จังหวัดพัทลุง จังหวัด พัทลุง

รหัสโครงการ เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 25 เมษายน 2563 ถึง 30 กันยายน 2563


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการส่งเสริมสุขภาพ ๓ กลุ่มวัย แบบแบบองค์รวม ประจำปี ๒๕๖๓ จังหวัดพัทลุง" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลคลองทรายขาว อำเภอกงหรา จังหวัดพัทลุง

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลคลองทรายขาว ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการส่งเสริมสุขภาพ ๓ กลุ่มวัย แบบแบบองค์รวม ประจำปี ๒๕๖๓



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการส่งเสริมสุขภาพ ๓ กลุ่มวัย แบบแบบองค์รวม ประจำปี ๒๕๖๓ " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลคลองทรายขาว อำเภอกงหรา จังหวัดพัทลุง รหัสโครงการ ระยะเวลาการดำเนินงาน 25 เมษายน 2563 - 30 กันยายน 2563 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 9,850.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลคลองทรายขาว เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

ปัจจุบันยังมีปัญหาที่กระทบต่อสุขภาพของคนชุมชนมีมากหลายด้าน จากกลุ่มวัยต่างๆ เช่น ปัญหาของผู้สูงอายุ ก็มักพบปัญหาเช่น ป่วยเป็นโรคเบาหวาน-ความดัน ไขมันในหลอดเลือด และขาดการออกกำลังกาย ปัญหาของกลุ่มวัยทำงาน เช่น ความเสี่ยงต่อการเกิดโรคเบาหวาน ความดัน เครียด ซึมเศร้า ปัญหาของกลุ่มวัยเด็กหรือเยาวชน เช่น ปัญหามั่วสุ่ม ท้องก่อนวัยอันควร ปัญหาติดเกม ซึ่งปัญหาต่างๆของกลุ่มวัยต่างๆนั้น จักต้องได้รับการพัฒนาแก้ไขอย่างเป็นระบบและต่อเนื่อง โดยอาศัยกลวิธีต่างๆ จากหน่วยงาน หรือ องค์กรในชุมชน อสม. ผู้นำหมู่บ้าน จะต้องร่วมมือกันอย่างจริงจัง จึงจะลดปัญหาลงได้ การสนับสนุนให้เกิดกิจกรรมต่างๆ นั้นมีความสำคัญและจำเป็นอย่างมาก เนื่องจากคนในชุมชนขาดจุดเชื่อมทางสังคม ขาดโอกาสที่จะได้ออกมารวมกันเพื่อทำกิจกรรมร่วมกันแบบมีส่วนร่วมในทุกกลุ่มวัย และไม่ได้พัฒนารูปแบบเพื่อการสร้างสรรค์ เพื่อไม่ให้เกิดความเบื่อหน่าย สร้างแรงจูงใจให้กับผู้คน และเป็นตัวอย่างที่ดี ทางชมรมคนรักษ์สุขภาพมองเห็นถึงความสำคัญของคนกลุ่มสามวัย คือ วันเด็ก วัยทำงาน วัยผู้สูงอายุหากกลุ่มคนเล่านี้ได้มีกิจกรรมที่ต่อเนื่อง จะทำให้ผู้คนในชุมชนลดปัญหาต่างๆลงได้ และเกิดประโยชน์ต่อสุขภาพของคนในชุมชนที่ดีและยั่งยืน ต่อไป ดังนั้น ชมรมคนรักษ์สุขภาพบ้านไร่เหนือ จึงได้จัดทำโครงการนี้ขึ้น โดยจะร่วมมืออาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้าน กลุ่มแกนนำผู้สูงอายุ และกลุ่มผู้ปกครอง ของหมู่ที่ ๒, ๓, ๔, ๗ ตำบลคลองทรายขาว ได้ตระหนักร่วมกันถึงการมีส่วนร่วมการดำเนินงานแบบผสมผสานองค์รวม ให้เป็นนวัตกรรมของชุมชน ให้เกิดการขับเคลื่อน เป็นพลังชุมชน เกิดภาพลักษณ์ที่ดี และสร้างสรรค์ต่อไป

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อพัฒนาเสริมสร้างความเข้มแข็งให้แก่กลุ่มเป้าหมาย ทั้ง ๓ กลุ่มวัย คือ กลุ่มผู้สูงอายุ วัยทำงาน เยาวชน โดยการส่งเสริมให้มีความรู้ เพิ่มทักษะ สร้างความตระหนัก มีทัศนคติที่ดี เพื่อการมีสุขภาพที่ ลดเสี่ยงลดโรค และรวมถึงการป้องกันมั่วสุมต่างๆของเยาวชน
  2. เพื่อให้กลุ่มเป้าหมายทั้ง ๓ กลุ่มวัยหันมามีส่วนร่วมในการดูแลชุมชน ด้านต่างๆ เช่น ด้านสิ่งแวดล้อม ด้านขยะในชุมชน
  3. เพื่อบูรณาการการดำเนินงานสร้างเสริมสุขภาพของตนเองและสมาชิกในชุมชนแบบองค์รวมโดยการมีส่วนร่วมของกลุ่มองค์กรต่างๆ เช่น อสม. กลุ่มชมรมต่างๆและหน่วยงานภาครัฐ โดยมีเป้าหมายเดียวกัน คือการสุขภาพที่ดีแก่คนในชุมชนทุกๆกลุ่มวัย และรวมถึงการรักษาสิ่งแวดล้อมที่ดีด้วย

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. จัดประชุมคณะทำงาน (แกนนำ อสม.,ผู้นำชุมชน,ปราชญ์ชาวบ้านแกนนำผู้สูงอายุ และแกนนำเยาวชน)
  2. จัดฝึกอบรมให้ความรู้พัฒนาเสริมสร้างทักษะแก่กลุ่มผู้สูงอายุ/วัยทำงาน/และเยาวชน

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 30
กลุ่มวัยทำงาน 30
กลุ่มผู้สูงอายุ 40
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง 15
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ 5
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 40
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

  1. กลุ่มเป้าหมาย ผู้สูงอายุ /กลุ่มวัยทำงาน/กลุ่มเยาวชน ในชุมชนมีความรู้ มีทักษะการพัฒนาตนเองให้รอดพ้นจากภัยคุกคามต่างๆ ได้ เช่น สุขภาพกายแข็งแรงขึ้นจากการออกกำลังกาย /ปัญหาการมั่วสุ่มของวัยรุ่นลดลง เป็นต้น
  2. กลุ่มองค์กรสามารถขับเคลื่อนกิจกรรมให้แก่คนทั้ง ๓ กลุ่มวัยได้อย่างต่อเนื่อง และเกิดผลสำเร็จยั่งยืนได้ โดยได้พัฒนาคน เพิ่มทักษะต่างๆ เกิดความเข้มแข็งในการพัฒนาหมู่บ้าน/ชุมชนของตนเอง ที่เอื้อต่อการมีสุขภาพอนามัยที่ดี
  3. ประชาชนเกิดความตระหนักในการดูแลสุขภาพของตนเอง และเห็นความสำคัญในการจัดการตนเอง ครอบครัว ชุมชน      เกิดนวัตกรรมชุมชน ในการขับเคลื่อนระบบการสร้างสุขภาพที่ดีแบบยั่งยืน

ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

1. จัดประชุมคณะทำงาน (แกนนำ อสม.,ผู้นำชุมชน,ปราชญ์ชาวบ้านแกนนำผู้สูงอายุ และแกนนำเยาวชน)

วันที่ 10 กันยายน 2563

กิจกรรมที่ทำ

จัดประชุมคณะทำงาน (แกนนำ อสม.,ผู้นำชุมชน,ปราชญ์ชาวบ้านแกนนำผู้สูงอายุ

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

สร้างความเข้าใจและร่วมกำหนดวางแผนรูปแบบวิธีการการดำเนินงานโครงการ และการประชาสัมพันธ์โครงการ

 

30 0

2. จัดฝึกอบรมให้ความรู้พัฒนาเสริมสร้างทักษะแก่กลุ่มผู้สูงอายุ/วัยทำงาน/และเยาวชน

วันที่ 23 กันยายน 2563

กิจกรรมที่ทำ

จัดฝึกอบรมให้ความรู้พัฒนาเสริมสร้างทักษะแก่กลุ่มผู้สูงอายุ/วัยทำงาน/และเยาวชน

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

กลุ่มเป้าหมายได้รับความรู้เรื่องโรค NCD.ภัยคุกคามต่อสุขภาพ / การออกกำลังกายด้วยผ้าขาวม้า/รำไม้พลอง/ รำวงกลองยาว

 

50 0

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เพื่อพัฒนาเสริมสร้างความเข้มแข็งให้แก่กลุ่มเป้าหมาย ทั้ง ๓ กลุ่มวัย คือ กลุ่มผู้สูงอายุ วัยทำงาน เยาวชน โดยการส่งเสริมให้มีความรู้ เพิ่มทักษะ สร้างความตระหนัก มีทัศนคติที่ดี เพื่อการมีสุขภาพที่ ลดเสี่ยงลดโรค และรวมถึงการป้องกันมั่วสุมต่างๆของเยาวชน
ตัวชี้วัด : กลุ่มผู้สูงอายุ มีสุขภาพจิต สุขภาพกายที่ดีขึ้น และได้ออกกำลังกายตามอันควร กลุ่มวัยทำงานมีความรู้ ลดปัจจัยเสี่ยงที่อาจป่วยด้วยโรคเรื้อรัง กลุ่มเยาวชน มีความรู้ มีทักษะ สามารถเอาตัวรอดได้จากภัยคุกคามต่างๆ ในปัจจุบัน
1.00

 

2 เพื่อให้กลุ่มเป้าหมายทั้ง ๓ กลุ่มวัยหันมามีส่วนร่วมในการดูแลชุมชน ด้านต่างๆ เช่น ด้านสิ่งแวดล้อม ด้านขยะในชุมชน
ตัวชี้วัด : หมู่บ้านสะอาดปราศจากขยะหรือแหล่งเพราะพันธุ์เชื้อโรคต่างๆ เช่น โรคไข้เลือดออก โรคอุจาระร่วง
1.00

 

3 เพื่อบูรณาการการดำเนินงานสร้างเสริมสุขภาพของตนเองและสมาชิกในชุมชนแบบองค์รวมโดยการมีส่วนร่วมของกลุ่มองค์กรต่างๆ เช่น อสม. กลุ่มชมรมต่างๆและหน่วยงานภาครัฐ โดยมีเป้าหมายเดียวกัน คือการสุขภาพที่ดีแก่คนในชุมชนทุกๆกลุ่มวัย และรวมถึงการรักษาสิ่งแวดล้อมที่ดีด้วย
ตัวชี้วัด : กลุ่มองค์กรต่างๆ และหน่วยงานภาครัฐเข้ามาร่วมมือการดำเนินกิจกรรมต่างๆและต่อเนื่อง
1.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 160
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 30
กลุ่มวัยทำงาน 30
กลุ่มผู้สูงอายุ 40
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง 15
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ 5
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 40
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อพัฒนาเสริมสร้างความเข้มแข็งให้แก่กลุ่มเป้าหมาย ทั้ง ๓ กลุ่มวัย คือ กลุ่มผู้สูงอายุ วัยทำงาน เยาวชน โดยการส่งเสริมให้มีความรู้ เพิ่มทักษะ สร้างความตระหนัก มีทัศนคติที่ดี เพื่อการมีสุขภาพที่ ลดเสี่ยงลดโรค และรวมถึงการป้องกันมั่วสุมต่างๆของเยาวชน (2) เพื่อให้กลุ่มเป้าหมายทั้ง ๓ กลุ่มวัยหันมามีส่วนร่วมในการดูแลชุมชน ด้านต่างๆ เช่น ด้านสิ่งแวดล้อม ด้านขยะในชุมชน (3) เพื่อบูรณาการการดำเนินงานสร้างเสริมสุขภาพของตนเองและสมาชิกในชุมชนแบบองค์รวมโดยการมีส่วนร่วมของกลุ่มองค์กรต่างๆ เช่น อสม. กลุ่มชมรมต่างๆและหน่วยงานภาครัฐ โดยมีเป้าหมายเดียวกัน คือการสุขภาพที่ดีแก่คนในชุมชนทุกๆกลุ่มวัย และรวมถึงการรักษาสิ่งแวดล้อมที่ดีด้วย

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) จัดประชุมคณะทำงาน (แกนนำ อสม.,ผู้นำชุมชน,ปราชญ์ชาวบ้านแกนนำผู้สูงอายุ และแกนนำเยาวชน) (2) จัดฝึกอบรมให้ความรู้พัฒนาเสริมสร้างทักษะแก่กลุ่มผู้สูงอายุ/วัยทำงาน/และเยาวชน

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการส่งเสริมสุขภาพ ๓ กลุ่มวัย แบบแบบองค์รวม ประจำปี ๒๕๖๓ จังหวัด พัทลุง

รหัสโครงการ

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นายพิเชษฐ์ เขียดนิล )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด