กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลคลองทรายขาว


“ โครงการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ“อสม.รพ. สต.บ้านท่าเหนาะชวนวิ่ง” ปี 2563 ”

ตำบลคลองทรายขาว อำเภอกงหรา จังหวัดพัทลุง

หัวหน้าโครงการ
นายชัยทัต ยอดณรงค์

ชื่อโครงการ โครงการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ“อสม.รพ. สต.บ้านท่าเหนาะชวนวิ่ง” ปี 2563

ที่อยู่ ตำบลคลองทรายขาว อำเภอกงหรา จังหวัดพัทลุง จังหวัด พัทลุง

รหัสโครงการ เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 มิถุนายน 2563 ถึง 30 พฤศจิกายน 2563


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ“อสม.รพ. สต.บ้านท่าเหนาะชวนวิ่ง” ปี 2563 จังหวัดพัทลุง" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลคลองทรายขาว อำเภอกงหรา จังหวัดพัทลุง

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลคลองทรายขาว ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ“อสม.รพ. สต.บ้านท่าเหนาะชวนวิ่ง” ปี 2563



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ“อสม.รพ. สต.บ้านท่าเหนาะชวนวิ่ง” ปี 2563 " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลคลองทรายขาว อำเภอกงหรา จังหวัดพัทลุง รหัสโครงการ ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 มิถุนายน 2563 - 30 พฤศจิกายน 2563 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 8,900.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลคลองทรายขาว เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

ปัจจุบันคนไทยมีแนวโน้มเจ็บป่วยและเสียชีวิตด้วยโรคที่เกิดจากการปฏิบัติตัวที่ไม่ถูกต้อง โดยเฉพาะโรคมะเร็ง โรคความดันโลหิตสูง โรคเบาหวาน โรคหัวใจและหลอดเลือด เพิ่มมากขึ้นเรื่อยๆ โดยมีสาเหตุจากการกินอาหารที่มันจัด เค็มจัด หวานจัด  รวมทั้งกินผักและผลไม้ที่ไม่เพียงพอ มีภาวะเครียด การสูบบุหรี่ และการดื่มสุราการออกกำลังกายที่ไม่เพียงพอ ทำให้ประชาชนเจ็บป่วยและเสียชีวิตก่อนวัยอันควร  และต้องเสียค่ารักษาพยาบาลเป็นจำนวนมาก โดยเฉพาะโรคมะเร็ง ต้องเสียค่ารักษาพยาบาลเฉลี่ยคนละ  ๑ แสนบาทต่อเดือน และพบว่าอัตราป่วยต่อแสนประชากรในโรคมะเร็งทุกชนิด ๑๓๔.๒๑ โรคความดันโลหิตสูง ๘๖๐.๕๓ โรคเบาหวาน ๖๗๕.๗๔ โรคหัวใจและหลอดเลือด ๙๐๑.๓๑ และสำหรับอัตราการตายต่อแสนประชากรมีดังนี้ โรคมะเร็งทุกชนิด ๘๕.๐๔ โรคความดันโลหิตสูง ๓.๙๐ โรคเบาหวาน ๑๒.๒๒ โรคหัวใจและหลอดเลือด ๕๖.๐๐ (ข้อมูลจากสำนักโรคไม่ติดต่อ กรมควบคุมโรค กระทรวงสาธารณสุข พ.ศ. ๒๕60) จากผลการเฝ้าระวังการออกกำลังกายและการบริโภคอาหารของประชาชนอายุ ๑๕-๖๐ ปี        จำนวน ๑,๕๒๐ คน ทั่วประเทศโดยกองสุขศึกษา กรมสนับสนุนบริการสุขภาพ กระทรวงสาธารณสุขเมื่อเดือนพฤศจิกายน ๒๕60 พบว่า ประชาชนที่ออกกำลังกายถูกต้องมีเพียงร้อยละ ๓๒.๖ การบริโภคผักและผลไม้ไม่น้อยกว่าวันละครึ่งกิโลกรัม มีเพียงร้อยละ ๒๓.๗ และกินอาหารไขมันสูงเป็นประจำร้อยละ ๑๔.๐
ทางชมรมอาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้าน (อสม.) โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านท่าเหนาะ ได้ตระหนักและเล็งเห็นถึงความสำคัญของการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมไปสู่พฤติกรรมที่ถูกต้อง เพื่อป้องกันการเกิดโรคมะเร็ง โรคความดันโลหิตสูง โรคหัวใจและหลอดเลือด สามารถพัฒนาให้ประชาชนมีคุณภาพชีวิตที่ดี จึงได้จัดทำโครงการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ “อสม.รพ.สต.บ้าน  ท่าเหนาะ ชวนวิ่ง” ขึ้นเพื่อเป็นแกนนำสุขภาพต้นแบบให้กับประชาชนต่อไป

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. ให้ประชาชนในพื้นที่ดำเนินการมีความรู้และมีการออกกำลังกายสม่ำเสมอ สัปดาห์ละอย่างน้อย ๓ – ๕ วันๆ ละอย่างน้อย ๓๐ นาที ร่วมกับการรับประทานผัก ลดอาหารไขมัน ลดการกินเค็ม และลดอาหารหวาน
  2. เพื่อให้ประชาชนมีความรู้และทักษะในการออกกำลังกายได้อย่างถูกต้อง สามารถบอกปริมาณอาหารที่เหมาะสมกับตนเองได้และวางแผนการกินเพื่อควบคุมน้ำหนักตนเองให้อยู่ในเกณฑ์ที่ปกติได้
  3. เพื่อให้ภาคีเครือข่ายมีส่วนร่วมในกระบวนการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพลดโรค

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. กิจกรรมการเรียนรู้ และการสร้างเสริมสุขภาพของประชาชน,ประเมินพฤติกรรมสุขภาพก่อนเข้าร่วมโครงการ,จัดมหกรรมสุขภาพหมู่บ้านปรับเปลี่ยนพฤติกรรมลดโรค

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน 150
กลุ่มผู้สูงอายุ 200
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง 150
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

๑. มีบุคคลต้นแบบการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพฯ หมู่บ้านละ 5 คน ๒. มีแหล่งเรียนรู้ด้านการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพฯ หมู่บ้านละ ๑ แห่ง ๓. ประชาชนในหมู่ที่ 3 , 5 และ ๖ ตำบลคลองทรายขาว อำเภอกงหรา จังหวัดพัทลุง  ลดความเสี่ยงต่อการเกิดโรคมะเร็ง โรคความดันโลหิตสูง โรคหัวใจและหลอดเลือด
๔ ลดภาระค่าใช้จ่ายในการรักษาพยาบาลของประชาชน


ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

1. กิจกรรมการเรียนรู้ และการสร้างเสริมสุขภาพของประชาชน,ประเมินพฤติกรรมสุขภาพก่อนเข้าร่วมโครงการ,จัดมหกรรมสุขภาพหมู่บ้านปรับเปลี่ยนพฤติกรรมลดโรค

วันที่ 7 สิงหาคม 2563

กิจกรรมที่ทำ

กิจกรรมการเรียนรู้  และการสร้างเสริมสุขภาพของประชาชน,ประเมินพฤติกรรมสุขภาพก่อนเข้าร่วมโครงการ,จัดมหกรรมสุขภาพหมู่บ้านปรับเปลี่ยนพฤติกรรมลดโรค

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

๑.มีบุคคลต้นแบบการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพฯ หมู่บ้านละ 5 คน ๒.มีแหล่งเรียนรู้ด้านการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพฯ หมู่บ้านละ  ๑  แห่ง ๓.ประชาชนในหมู่ที่ 3 , 5 และ ๖  ตำบลคลองทรายขาว  อำเภอกงหรา  จังหวัดพัทลุง  ลดความเสี่ยงต่อการเกิดโรคมะเร็ง โรคความดันโลหิตสูง โรคหัวใจและหลอดเลือด
๔ ลดภาระค่าใช้จ่ายในการรักษาพยาบาลของประชาชน

 

540 0

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 ให้ประชาชนในพื้นที่ดำเนินการมีความรู้และมีการออกกำลังกายสม่ำเสมอ สัปดาห์ละอย่างน้อย ๓ – ๕ วันๆ ละอย่างน้อย ๓๐ นาที ร่วมกับการรับประทานผัก ลดอาหารไขมัน ลดการกินเค็ม และลดอาหารหวาน
ตัวชี้วัด : มีบุคคลต้นแบบการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพฯ หมู่บ้านละ 5 คน
0.00

 

2 เพื่อให้ประชาชนมีความรู้และทักษะในการออกกำลังกายได้อย่างถูกต้อง สามารถบอกปริมาณอาหารที่เหมาะสมกับตนเองได้และวางแผนการกินเพื่อควบคุมน้ำหนักตนเองให้อยู่ในเกณฑ์ที่ปกติได้
ตัวชี้วัด : ลดความเสี่ยงต่อการเกิดโรคมะเร็ง โรคความดันโลหิตสูง โรคหัวใจและหลอดเลือด
0.00

 

3 เพื่อให้ภาคีเครือข่ายมีส่วนร่วมในกระบวนการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพลดโรค
ตัวชี้วัด : ลดภาระค่าใช้จ่ายในการรักษาพยาบาลของประชาชน
0.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 500
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน 150
กลุ่มผู้สูงอายุ 200
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง 150
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) ให้ประชาชนในพื้นที่ดำเนินการมีความรู้และมีการออกกำลังกายสม่ำเสมอ สัปดาห์ละอย่างน้อย  ๓ – ๕ วันๆ ละอย่างน้อย ๓๐ นาที ร่วมกับการรับประทานผัก ลดอาหารไขมัน ลดการกินเค็ม และลดอาหารหวาน (2) เพื่อให้ประชาชนมีความรู้และทักษะในการออกกำลังกายได้อย่างถูกต้อง สามารถบอกปริมาณอาหารที่เหมาะสมกับตนเองได้และวางแผนการกินเพื่อควบคุมน้ำหนักตนเองให้อยู่ในเกณฑ์ที่ปกติได้ (3) เพื่อให้ภาคีเครือข่ายมีส่วนร่วมในกระบวนการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพลดโรค

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) กิจกรรมการเรียนรู้  และการสร้างเสริมสุขภาพของประชาชน,ประเมินพฤติกรรมสุขภาพก่อนเข้าร่วมโครงการ,จัดมหกรรมสุขภาพหมู่บ้านปรับเปลี่ยนพฤติกรรมลดโรค

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ“อสม.รพ. สต.บ้านท่าเหนาะชวนวิ่ง” ปี 2563 จังหวัด พัทลุง

รหัสโครงการ

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นายชัยทัต ยอดณรงค์ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด