กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลเจ๊ะบิลัง


“ โครงการส่งเสริมสุขภาพ การลด ละ เลิก บุหรี่ ตามวิถีเจ๊ะบิลัง ”

ตำบลเจ๊ะบิลัง อำเภอเมืองสตูล จังหวัดสตูล

หัวหน้าโครงการ
นางสาวโสพินทร์ แก้วมณี

ชื่อโครงการ โครงการส่งเสริมสุขภาพ การลด ละ เลิก บุหรี่ ตามวิถีเจ๊ะบิลัง

ที่อยู่ ตำบลเจ๊ะบิลัง อำเภอเมืองสตูล จังหวัดสตูล จังหวัด สตูล

รหัสโครงการ 2563/L7886/1/8 เลขที่ข้อตกลง 9/2563

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 12 พฤศจิกายน 2563 ถึง 12 พฤศจิกายน 2563


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการส่งเสริมสุขภาพ การลด ละ เลิก บุหรี่ ตามวิถีเจ๊ะบิลัง จังหวัดสตูล" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลเจ๊ะบิลัง อำเภอเมืองสตูล จังหวัดสตูล

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลเจ๊ะบิลัง ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการส่งเสริมสุขภาพ การลด ละ เลิก บุหรี่ ตามวิถีเจ๊ะบิลัง



บทคัดย่อ

ในปัจจุบันจากสถิติการป่วยและเสียชีวิตของคนไทยพบว่าป่วยด้วยโรคที่เกิดจากพฤติกรรมสุขภาพเป็นอันดับต้นๆเช่นโรคมะเร็ง โรคหัวใจขาดเลือด โรคเส้นเลือดในสมองอุดตันเป็นต้น  ซึ่งสาเหตุหนึ่งมาจากการสูบบุหรี่ทำให้เกิดผลกระทบในระบบสุขภาพของประชาชนทั้งทางตรง  คือผู้สูบบุหรี่เอง และทางอ้อมผู้ที่รับพิษจากควันบุหรี่ที่ผู้ใกล้ชิดเป็นผู้สูบ คือบุหรี่มือสอง ในปี พ.ศ. 2551 บุหรี่ คร่าชีวิตผู้คนทั่วโลกมากกว่า 5 ล้านคนซึ่งถือว่าเป็นจำนวนที่มากกว่าผู้เสียชีวิตจากโรควัณโรค โรคเอดส์ และไข้มาลาเรียรวมกัน และคาดว่าในปี พ.ศ. 2573 จำนวนผู้เสียชีวิตทั้งหมดจะเพิ่มขึ้นเป็น 8 ล้านคนต่อปี โดยพบว่ามะเร็งที่มีอุบัติการณ์สูงขึ้นในผู้สูบบุหรี่ได้แก่มะเร็งปอดที่เป็นมะเร็งที่พบบ่อยในผู้ชายไทย อีกทั้ง การสูบบุหรี่อย่างต่อเนื่องจะทำให้ผู้สูบเกิดภาวะหลอดเลือดตีบตันและเกิดปัญหาการสูญเสียการทำงาน  ของหลอดเลือดโคโรนารีที่ไปเลี้ยงกล้ามเนื้อหัวใจ การสูบบุหรี่ยังเป็นปัจจัยเสี่ยงสำคัญที่ทำให้เกิดโรค  หลอดเลือดหัวใจตีบและกล้ามเนื้อหัวใจตายจากการขาดเลือดไปเลี้ยงทำให้ผู้ป่วยมีอาการแน่นหน้าอก  และหัวใจวาย โรคความดันโลหิตสูง และหัวใจเต้นผิดปกติ โดยกลุ่มผู้ที่มีความเสี่ยงเป็นพิเศษในการได้รับควันบุหรี่จากสิ่งแวดล้อมได้แก่ทารกในครรภ์และเด็ก จะมีโอกาสเกิดผลเสียต่อทารกในครรภ์และเกิดภาวะแทรกซ้อนจากการตั้งครรภ์สูง เช่นทารกน้ำหนักตัวน้อย    คลอดก่อนกำหนด เด็กหากได้รับควันดังกล่าวจะมีโอกาสเกิดภาวะไหลตาย ปอดอักเสบติดเชื้อ โรคภูมิแพ้ โรคหอบหืดได้มากกว่าเด็กทั่วไป
      จากการสำรวจการบริโภคยาสูบตำบลเจ๊ะบิลัง อำเภอเมือง จังหวัดสตูล ในช่วง ปีงบประมาณ พ.ศ. 2561 ซึ่งมีจำนวนครัวเรือนทั้งสิ้น 1,417 ครัวเรือน มีประชากรที่ทำการสำรวจ 4,156 คน พบว่า อัตราการสูบบุหรี่ คิดเป็นร้อยละ27.69 ของประชากรที่สำรวจ (คิดเป็นผู้ใช้ยาสูบทุกชนิดจำนวน 1,151 คน) ระยะเวลาการสูบมากกว่า 20 ปี คิดเป็นร้อยละ34.75 โดยผู้สูบส่วนใหญ่เป็นผู้สูบเป็นประจำทุกวันร้อยละ 91.27โดยพบว่าปริมาณที่สูบต่อวัน6-10 มวนต่อวัน มากที่สุด คิดเป็นร้อยละ43.19รองลงมาคือสูบ 11-20 มวนต่อวันร้อยละ 25.17สูบวันละ 1- 5 มวนต่อวันร้อยละ 20.11 และสูบมากกว่า 20 มวนต่อวันร้อยละ 11.53เมื่อจำแนกตามประเภทของยาสูบ พบว่า มีการใช้บุหรี่มวนเองสูงสุดคือร้อยละ 54.14 รองลงมาคือบุหรี่ในโรงงาน ร้อยละ 41.18 และอื่น เช่นเคี้ยวยาสูบ บุหรี่ไฟฟ้า ร้อยละ 4.08 (จากสถานการณ์แสดงว่ามีการใช้ยาสูบมากกกว่า 1 ประเภทในผู้ใช้ 1 คน) เมื่อพิจารณาข้อมูลการสูบบุหรี่ของประชาชนในพื้นที่แล้ว พบว่า มีการสูบบุหรี่มวนเองสูงกว่าบุหรี่โรงงานทั้งในด้านอัตราและจำนวนผู้สูบบุหรี่และมีการสูบบุหรี่สูงในเพศชาย ร้อยละ 98.75(จำนวน 1,139คน) ขณะที่เพศหญิงสูบ ร้อยละ 1.04 (จำนวน 12 คน) อายุอยู่ในวัยแรงงานและสูงอายุ ในกลุ่มผู้มีรายได้ปานกลางและต่ำ ซึ่งเป็นลักษณะของชุมชนกึ่งชนบท และที่มากกว่านั้นก็คือ การได้รับควันบุหรี่มือสองเด็กต่ำกว่า 5 ปีเมื่อพิจารณาจากสัดส่วนของผู้สูบบุหรี่กับจำนวนเด็ก พบว่า เด็กมีความเสี่ยงในการได้รับความบุหรี่มือสอง ในสัดส่วน 1:2 จากข้อมูลดังกล่าวข้างต้น แสดงให้เห็นถึงปัญหาการใช้ยาสูบในพื้นที่ซึ่งเป็นที่ทราบว่าทำให้เกิดผลกระทบต่อภาวะสุขภาพของผู้สูบบุหรี่ คนในครอบครัว ชุมชนและยังเกิดความสูญเสียทางเศรษฐกิจของครอบครัวซึ่งอาจจะมีผลกระทบในด้านอื่นๆตามมาอีกมากมาย เช่น ความสูญเสียถึงชีวิต ความพิการ ครอบครัวแตกแยก ปัญหาฆ่าตัวตาย ปัญหายาเสพติด ปัญหาอาชญากรรม ฯลฯ.     ในการนี้ โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลเจ๊ะบิลัง ได้เล็งเห็นความสำคัญในเรื่องการส่งเสริมสุขภาพ และการสร้างภูมิคุ้มกันให้กับคนในชุมชน จึงได้จัดทำ โครงการส่งเสริมสุขภาพการลด ละ เลิก บุหรี่ ตามวิถีเจ๊ะบิลัง
ตำบลเจ๊ะบิลัง อำเภอเมือง จังหวัดสตูล ประจำปีงบประมาณ ๒๕63 ซึ่งประกอบด้วยเครือข่ายกลุ่มแกนนำต่างๆ ได้แก่ ท้องถิ่น อสม เยาวชน ผู้นำศาสนา ครู และสถานประกอบการ เพื่อสร้างเครือข่ายเฝ้าระวังควบคุมการบริโภคยาสูบ และสร้างการมีส่วนร่วมในการเฝ้าระวังเพื่อการเลิกสูบบุหรี่ในชุมชน ส่งผลให้ คนในชุมชนมีการลด ละ เลิก การสูบบุหรี่ ลดภาวะเสี่ยงและผลกระทบจากควันบุหรี่และ มีสุขภาพที่ดีต่อไป
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) 1.เพื่อให้เครือข่ายมีความรู้และทักษะในการดำเนินการเฝ้าระวังและส่งเสริม การลด ละ เลิก บุหรี่ (2) 2.พัฒนาศักยภาพเครือข่ายและสร้างการมีส่วนร่วมในการเฝ้าระวังและส่งเสริมการ ลด ละ เลิก บุหรี่ (3) 3.เพื่อส่งเสริมให้ประชาชนในชุมชนมีการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม ตามหลัก 6 อ

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) กิจกรรมที่ 1 สำรวจข้อมูลพื้นฐานการสูบบุหรี่ในชุมชน (2) กิจกรรมที่ ๒.อบรมให้ความรู้เรื่องบุหรี่

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

ในปัจจุบันจากสถิติการป่วยและเสียชีวิตของคนไทยพบว่าป่วยด้วยโรคที่เกิดจากพฤติกรรมสุขภาพเป็นอันดับต้นๆเช่นโรคมะเร็ง โรคหัวใจขาดเลือด โรคเส้นเลือดในสมองอุดตันเป็นต้น  ซึ่งสาเหตุหนึ่งมาจากการสูบบุหรี่ทำให้เกิดผลกระทบในระบบสุขภาพของประชาชนทั้งทางตรง  คือผู้สูบบุหรี่เอง และทางอ้อมผู้ที่รับพิษจากควันบุหรี่ที่ผู้ใกล้ชิดเป็นผู้สูบ คือบุหรี่มือสอง ในปี พ.ศ. 2551 บุหรี่ คร่าชีวิตผู้คนทั่วโลกมากกว่า 5 ล้านคนซึ่งถือว่าเป็นจำนวนที่มากกว่าผู้เสียชีวิตจากโรควัณโรค โรคเอดส์ และไข้มาลาเรียรวมกัน และคาดว่าในปี พ.ศ. 2573 จำนวนผู้เสียชีวิตทั้งหมดจะเพิ่มขึ้นเป็น 8 ล้านคนต่อปี โดยพบว่ามะเร็งที่มีอุบัติการณ์สูงขึ้นในผู้สูบบุหรี่ได้แก่มะเร็งปอดที่เป็นมะเร็งที่พบบ่อยในผู้ชายไทย อีกทั้ง การสูบบุหรี่อย่างต่อเนื่องจะทำให้ผู้สูบเกิดภาวะหลอดเลือดตีบตันและเกิดปัญหาการสูญเสียการทำงาน  ของหลอดเลือดโคโรนารีที่ไปเลี้ยงกล้ามเนื้อหัวใจ การสูบบุหรี่ยังเป็นปัจจัยเสี่ยงสำคัญที่ทำให้เกิดโรค  หลอดเลือดหัวใจตีบและกล้ามเนื้อหัวใจตายจากการขาดเลือดไปเลี้ยงทำให้ผู้ป่วยมีอาการแน่นหน้าอก  และหัวใจวาย โรคความดันโลหิตสูง และหัวใจเต้นผิดปกติ โดยกลุ่มผู้ที่มีความเสี่ยงเป็นพิเศษในการได้รับควันบุหรี่จากสิ่งแวดล้อมได้แก่ทารกในครรภ์และเด็ก จะมีโอกาสเกิดผลเสียต่อทารกในครรภ์และเกิดภาวะแทรกซ้อนจากการตั้งครรภ์สูง เช่นทารกน้ำหนักตัวน้อย    คลอดก่อนกำหนด เด็กหากได้รับควันดังกล่าวจะมีโอกาสเกิดภาวะไหลตาย ปอดอักเสบติดเชื้อ โรคภูมิแพ้ โรคหอบหืดได้มากกว่าเด็กทั่วไป
      จากการสำรวจการบริโภคยาสูบตำบลเจ๊ะบิลัง อำเภอเมือง จังหวัดสตูล ในช่วง ปีงบประมาณ พ.ศ. 2561 ซึ่งมีจำนวนครัวเรือนทั้งสิ้น 1,417 ครัวเรือน มีประชากรที่ทำการสำรวจ 4,156 คน พบว่า อัตราการสูบบุหรี่ คิดเป็นร้อยละ27.69 ของประชากรที่สำรวจ (คิดเป็นผู้ใช้ยาสูบทุกชนิดจำนวน 1,151 คน) ระยะเวลาการสูบมากกว่า 20 ปี คิดเป็นร้อยละ34.75 โดยผู้สูบส่วนใหญ่เป็นผู้สูบเป็นประจำทุกวันร้อยละ 91.27โดยพบว่าปริมาณที่สูบต่อวัน6-10 มวนต่อวัน มากที่สุด คิดเป็นร้อยละ43.19รองลงมาคือสูบ 11-20 มวนต่อวันร้อยละ 25.17สูบวันละ 1- 5 มวนต่อวันร้อยละ 20.11 และสูบมากกว่า 20 มวนต่อวันร้อยละ 11.53เมื่อจำแนกตามประเภทของยาสูบ พบว่า มีการใช้บุหรี่มวนเองสูงสุดคือร้อยละ 54.14 รองลงมาคือบุหรี่ในโรงงาน ร้อยละ 41.18 และอื่น เช่นเคี้ยวยาสูบ บุหรี่ไฟฟ้า ร้อยละ 4.08 (จากสถานการณ์แสดงว่ามีการใช้ยาสูบมากกกว่า 1 ประเภทในผู้ใช้ 1 คน) เมื่อพิจารณาข้อมูลการสูบบุหรี่ของประชาชนในพื้นที่แล้ว พบว่า มีการสูบบุหรี่มวนเองสูงกว่าบุหรี่โรงงานทั้งในด้านอัตราและจำนวนผู้สูบบุหรี่และมีการสูบบุหรี่สูงในเพศชาย ร้อยละ 98.75(จำนวน 1,139คน) ขณะที่เพศหญิงสูบ ร้อยละ 1.04 (จำนวน 12 คน) อายุอยู่ในวัยแรงงานและสูงอายุ ในกลุ่มผู้มีรายได้ปานกลางและต่ำ ซึ่งเป็นลักษณะของชุมชนกึ่งชนบท และที่มากกว่านั้นก็คือ การได้รับควันบุหรี่มือสองเด็กต่ำกว่า 5 ปีเมื่อพิจารณาจากสัดส่วนของผู้สูบบุหรี่กับจำนวนเด็ก พบว่า เด็กมีความเสี่ยงในการได้รับความบุหรี่มือสอง ในสัดส่วน 1:2 จากข้อมูลดังกล่าวข้างต้น แสดงให้เห็นถึงปัญหาการใช้ยาสูบในพื้นที่ซึ่งเป็นที่ทราบว่าทำให้เกิดผลกระทบต่อภาวะสุขภาพของผู้สูบบุหรี่ คนในครอบครัว ชุมชนและยังเกิดความสูญเสียทางเศรษฐกิจของครอบครัวซึ่งอาจจะมีผลกระทบในด้านอื่นๆตามมาอีกมากมาย เช่น ความสูญเสียถึงชีวิต ความพิการ ครอบครัวแตกแยก ปัญหาฆ่าตัวตาย ปัญหายาเสพติด ปัญหาอาชญากรรม ฯลฯ.     ในการนี้ โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลเจ๊ะบิลัง ได้เล็งเห็นความสำคัญในเรื่องการส่งเสริมสุขภาพ และการสร้างภูมิคุ้มกันให้กับคนในชุมชน จึงได้จัดทำ โครงการส่งเสริมสุขภาพการลด ละ เลิก บุหรี่ ตามวิถีเจ๊ะบิลัง
ตำบลเจ๊ะบิลัง อำเภอเมือง จังหวัดสตูล ประจำปีงบประมาณ ๒๕63 ซึ่งประกอบด้วยเครือข่ายกลุ่มแกนนำต่างๆ ได้แก่ ท้องถิ่น อสม เยาวชน ผู้นำศาสนา ครู และสถานประกอบการ เพื่อสร้างเครือข่ายเฝ้าระวังควบคุมการบริโภคยาสูบ และสร้างการมีส่วนร่วมในการเฝ้าระวังเพื่อการเลิกสูบบุหรี่ในชุมชน ส่งผลให้ คนในชุมชนมีการลด ละ เลิก การสูบบุหรี่ ลดภาวะเสี่ยงและผลกระทบจากควันบุหรี่และ มีสุขภาพที่ดีต่อไป

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. 1.เพื่อให้เครือข่ายมีความรู้และทักษะในการดำเนินการเฝ้าระวังและส่งเสริม การลด ละ เลิก บุหรี่
  2. 2.พัฒนาศักยภาพเครือข่ายและสร้างการมีส่วนร่วมในการเฝ้าระวังและส่งเสริมการ ลด ละ เลิก บุหรี่
  3. 3.เพื่อส่งเสริมให้ประชาชนในชุมชนมีการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม ตามหลัก 6 อ

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. กิจกรรมที่ 1 สำรวจข้อมูลพื้นฐานการสูบบุหรี่ในชุมชน
  2. กิจกรรมที่ ๒.อบรมให้ความรู้เรื่องบุหรี่

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน 92
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

หลังจากดำเนินโครงการส่งเสริม การ ลด ละ เลิกสูบบุหรี่โดยพลังชุมชน ตำบลเจ๊ะบิลัง อำเภอเมือง จังหวัดสตูล ประจำปีงบประมาณ ๒๕63  เครือข่ายมีความรู้และทักษะในการดำเนินการเฝ้าระวังและส่งเสริม การลด ละ เลิก บุหรี่ ไดรับการศักยภาพเครือข่ายละมีส่วนร่วมในการเฝ้าระวังและส่งเสริมการ ลด ละ เลิก บุหรี่ ประชาชนในชุมชนมีการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม ตามหลัก 6 อ ส่งผลให้ประชาชนในชุมชน มีการลด ละ เลิก การสูบบุหรี่ ลดภาวะเสี่ยงและผลกระทบจากควันบุหรี่และ มีสุขภาพที่ดีต่อไป


ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

1. กิจกรรมที่ ๒.อบรมให้ความรู้เรื่องบุหรี่

วันที่ 12 พฤศจิกายน 2563

กิจกรรมที่ทำ

วิธีดำเนินการ (ออกแบบให้ละเอียด) กิจกรรมที่ 1. สำรวจข้อมูลพื้นฐานการสูบบุหรี่ในชุมชน กิจกรรมที่ 2.อบรมให้ความรู้เรื่องบุหรี่ กิจกรรมที่ 3.พัฒนาศักยภาพเครือข่ายและสร้างการมีส่วนร่วมในการเฝ้าระวังและส่งเสริมการ ลด ละ  เลิก บุหรี่ กิจกรรมที่ 4.ส่งเสริมให้ประชาชนในชุมชนมีการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม ตามหลัก 6อ.

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ตัวชี้วัดความสำเร็จ ๑.จำนวนกลุ่มเป้าหมาย ที่เข้ารับการอบรม อย่างน้อยละ 80 1.มีทะเบียนชมรมสมาชิกเครือข่าย เฝ้าระวังและส่งเสริมการ ลด ละ  เลิก บุหรี่ โดยพลังชุมชน 2.มีแผนการเฝ้าระวังและส่งเสริมการ ลด ละ  เลิก บุหรี่ 1.จำนวนผู้สมัครเข้าร่วมโครงการเลิกสูบบุหรี่ 2.ชมรมการออกกลำกายในชุมชน

 

92 0

2. กิจกรรมที่ 1 สำรวจข้อมูลพื้นฐานการสูบบุหรี่ในชุมชน

วันที่ 4 มกราคม 2564

กิจกรรมที่ทำ

กิจกรรมที่ 1 สำรวจข้อมูลพื้นฐานการสูบบุหรี่ในชุมชน     1.1 ประเมินและวิเคราะห์พฤติกรรมเสี่ยงจากการสูบบุหรี่ของคนในชุมชน   1.2 จัดทำทะเบียนผู้สูบบุหรี่ในชุมชน   1.3 จัดตั้งชมรมและคณะกรรมการเครือข่าย   1.4 สร้างช่องทางสื่อสาร เช่น กลุ่มไลน์  โทรศัพท์ให้คำปรึกษา

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

1.จำนวนผู้สมัครเข้าร่วมโครงการเลิกสูบบุหรี่ 2.ชมรมการออกกลำกายในชุมชน

 

0 0

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

หลังจากดำเนินโครงการส่งเสริม การ ลด ละ เลิกสูบบุหรี่โดยพลังชุมชน ตำบลเจ๊ะบิลัง อำเภอเมือง จังหวัดสตูล ประจำปีงบประมาณ ๒๕63  เครือข่ายมีความรู้และทักษะในการดำเนินการเฝ้าระวังและส่งเสริม การลด ละ เลิก บุหรี่ ไดรับการศักยภาพเครือข่ายละมีส่วนร่วมในการเฝ้าระวังและส่งเสริมการ ลด ละ เลิก บุหรี่ ประชาชนในชุมชนมีการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม ตามหลัก 6 อ ส่งผลให้ประชาชนในชุมชน มีการลด ละ เลิก การสูบบุหรี่ ลดภาวะเสี่ยงและผลกระทบจากควันบุหรี่และ มีสุขภาพที่ดีต่อไป

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 1.เพื่อให้เครือข่ายมีความรู้และทักษะในการดำเนินการเฝ้าระวังและส่งเสริม การลด ละ เลิก บุหรี่
ตัวชี้วัด : จำนวนกลุ่มเป้าหมาย ที่เข้ารับการอบรม อย่างน้อยละ 80
1.00

 

2 2.พัฒนาศักยภาพเครือข่ายและสร้างการมีส่วนร่วมในการเฝ้าระวังและส่งเสริมการ ลด ละ เลิก บุหรี่
ตัวชี้วัด : มีทะเบียนชมรมสมาชิกเครือข่าย เฝ้าระวังและส่งเสริมการ ลด ละ เลิก บุหรี่ โดยพลังชุมชน 2.มีแผนการเฝ้าระวังและส่งเสริมการ ลด ละ เลิก บุหรี่
1.00

 

3 3.เพื่อส่งเสริมให้ประชาชนในชุมชนมีการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม ตามหลัก 6 อ
ตัวชี้วัด : 1.จำนวนผู้สมัครเข้าร่วมโครงการเลิกสูบบุหรี่ 2.ชมรมการออกกลำกายในชุมชน
1.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 92 92
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน 92 92
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

ในปัจจุบันจากสถิติการป่วยและเสียชีวิตของคนไทยพบว่าป่วยด้วยโรคที่เกิดจากพฤติกรรมสุขภาพเป็นอันดับต้นๆเช่นโรคมะเร็ง โรคหัวใจขาดเลือด โรคเส้นเลือดในสมองอุดตันเป็นต้น  ซึ่งสาเหตุหนึ่งมาจากการสูบบุหรี่ทำให้เกิดผลกระทบในระบบสุขภาพของประชาชนทั้งทางตรง  คือผู้สูบบุหรี่เอง และทางอ้อมผู้ที่รับพิษจากควันบุหรี่ที่ผู้ใกล้ชิดเป็นผู้สูบ คือบุหรี่มือสอง ในปี พ.ศ. 2551 บุหรี่ คร่าชีวิตผู้คนทั่วโลกมากกว่า 5 ล้านคนซึ่งถือว่าเป็นจำนวนที่มากกว่าผู้เสียชีวิตจากโรควัณโรค โรคเอดส์ และไข้มาลาเรียรวมกัน และคาดว่าในปี พ.ศ. 2573 จำนวนผู้เสียชีวิตทั้งหมดจะเพิ่มขึ้นเป็น 8 ล้านคนต่อปี โดยพบว่ามะเร็งที่มีอุบัติการณ์สูงขึ้นในผู้สูบบุหรี่ได้แก่มะเร็งปอดที่เป็นมะเร็งที่พบบ่อยในผู้ชายไทย อีกทั้ง การสูบบุหรี่อย่างต่อเนื่องจะทำให้ผู้สูบเกิดภาวะหลอดเลือดตีบตันและเกิดปัญหาการสูญเสียการทำงาน  ของหลอดเลือดโคโรนารีที่ไปเลี้ยงกล้ามเนื้อหัวใจ การสูบบุหรี่ยังเป็นปัจจัยเสี่ยงสำคัญที่ทำให้เกิดโรค  หลอดเลือดหัวใจตีบและกล้ามเนื้อหัวใจตายจากการขาดเลือดไปเลี้ยงทำให้ผู้ป่วยมีอาการแน่นหน้าอก  และหัวใจวาย โรคความดันโลหิตสูง และหัวใจเต้นผิดปกติ โดยกลุ่มผู้ที่มีความเสี่ยงเป็นพิเศษในการได้รับควันบุหรี่จากสิ่งแวดล้อมได้แก่ทารกในครรภ์และเด็ก จะมีโอกาสเกิดผลเสียต่อทารกในครรภ์และเกิดภาวะแทรกซ้อนจากการตั้งครรภ์สูง เช่นทารกน้ำหนักตัวน้อย    คลอดก่อนกำหนด เด็กหากได้รับควันดังกล่าวจะมีโอกาสเกิดภาวะไหลตาย ปอดอักเสบติดเชื้อ โรคภูมิแพ้ โรคหอบหืดได้มากกว่าเด็กทั่วไป
      จากการสำรวจการบริโภคยาสูบตำบลเจ๊ะบิลัง อำเภอเมือง จังหวัดสตูล ในช่วง ปีงบประมาณ พ.ศ. 2561 ซึ่งมีจำนวนครัวเรือนทั้งสิ้น 1,417 ครัวเรือน มีประชากรที่ทำการสำรวจ 4,156 คน พบว่า อัตราการสูบบุหรี่ คิดเป็นร้อยละ27.69 ของประชากรที่สำรวจ (คิดเป็นผู้ใช้ยาสูบทุกชนิดจำนวน 1,151 คน) ระยะเวลาการสูบมากกว่า 20 ปี คิดเป็นร้อยละ34.75 โดยผู้สูบส่วนใหญ่เป็นผู้สูบเป็นประจำทุกวันร้อยละ 91.27โดยพบว่าปริมาณที่สูบต่อวัน6-10 มวนต่อวัน มากที่สุด คิดเป็นร้อยละ43.19รองลงมาคือสูบ 11-20 มวนต่อวันร้อยละ 25.17สูบวันละ 1- 5 มวนต่อวันร้อยละ 20.11 และสูบมากกว่า 20 มวนต่อวันร้อยละ 11.53เมื่อจำแนกตามประเภทของยาสูบ พบว่า มีการใช้บุหรี่มวนเองสูงสุดคือร้อยละ 54.14 รองลงมาคือบุหรี่ในโรงงาน ร้อยละ 41.18 และอื่น เช่นเคี้ยวยาสูบ บุหรี่ไฟฟ้า ร้อยละ 4.08 (จากสถานการณ์แสดงว่ามีการใช้ยาสูบมากกกว่า 1 ประเภทในผู้ใช้ 1 คน) เมื่อพิจารณาข้อมูลการสูบบุหรี่ของประชาชนในพื้นที่แล้ว พบว่า มีการสูบบุหรี่มวนเองสูงกว่าบุหรี่โรงงานทั้งในด้านอัตราและจำนวนผู้สูบบุหรี่และมีการสูบบุหรี่สูงในเพศชาย ร้อยละ 98.75(จำนวน 1,139คน) ขณะที่เพศหญิงสูบ ร้อยละ 1.04 (จำนวน 12 คน) อายุอยู่ในวัยแรงงานและสูงอายุ ในกลุ่มผู้มีรายได้ปานกลางและต่ำ ซึ่งเป็นลักษณะของชุมชนกึ่งชนบท และที่มากกว่านั้นก็คือ การได้รับควันบุหรี่มือสองเด็กต่ำกว่า 5 ปีเมื่อพิจารณาจากสัดส่วนของผู้สูบบุหรี่กับจำนวนเด็ก พบว่า เด็กมีความเสี่ยงในการได้รับความบุหรี่มือสอง ในสัดส่วน 1:2 จากข้อมูลดังกล่าวข้างต้น แสดงให้เห็นถึงปัญหาการใช้ยาสูบในพื้นที่ซึ่งเป็นที่ทราบว่าทำให้เกิดผลกระทบต่อภาวะสุขภาพของผู้สูบบุหรี่ คนในครอบครัว ชุมชนและยังเกิดความสูญเสียทางเศรษฐกิจของครอบครัวซึ่งอาจจะมีผลกระทบในด้านอื่นๆตามมาอีกมากมาย เช่น ความสูญเสียถึงชีวิต ความพิการ ครอบครัวแตกแยก ปัญหาฆ่าตัวตาย ปัญหายาเสพติด ปัญหาอาชญากรรม ฯลฯ.     ในการนี้ โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลเจ๊ะบิลัง ได้เล็งเห็นความสำคัญในเรื่องการส่งเสริมสุขภาพ และการสร้างภูมิคุ้มกันให้กับคนในชุมชน จึงได้จัดทำ โครงการส่งเสริมสุขภาพการลด ละ เลิก บุหรี่ ตามวิถีเจ๊ะบิลัง
ตำบลเจ๊ะบิลัง อำเภอเมือง จังหวัดสตูล ประจำปีงบประมาณ ๒๕63 ซึ่งประกอบด้วยเครือข่ายกลุ่มแกนนำต่างๆ ได้แก่ ท้องถิ่น อสม เยาวชน ผู้นำศาสนา ครู และสถานประกอบการ เพื่อสร้างเครือข่ายเฝ้าระวังควบคุมการบริโภคยาสูบ และสร้างการมีส่วนร่วมในการเฝ้าระวังเพื่อการเลิกสูบบุหรี่ในชุมชน ส่งผลให้ คนในชุมชนมีการลด ละ เลิก การสูบบุหรี่ ลดภาวะเสี่ยงและผลกระทบจากควันบุหรี่และ มีสุขภาพที่ดีต่อไป
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) 1.เพื่อให้เครือข่ายมีความรู้และทักษะในการดำเนินการเฝ้าระวังและส่งเสริม การลด ละ เลิก บุหรี่ (2) 2.พัฒนาศักยภาพเครือข่ายและสร้างการมีส่วนร่วมในการเฝ้าระวังและส่งเสริมการ ลด ละ เลิก บุหรี่ (3) 3.เพื่อส่งเสริมให้ประชาชนในชุมชนมีการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม ตามหลัก 6 อ

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) กิจกรรมที่ 1 สำรวจข้อมูลพื้นฐานการสูบบุหรี่ในชุมชน (2) กิจกรรมที่ ๒.อบรมให้ความรู้เรื่องบุหรี่

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


ส่วนที่ 3 ประเมินคุณค่าโครงการ

แบบประเมินคุณค่าของโครงการที่เกี่ยวข้องกับการสร้างเสริมสุขภาพ

ชื่อโครงการ โครงการส่งเสริมสุขภาพ การลด ละ เลิก บุหรี่ ตามวิถีเจ๊ะบิลัง

รหัสโครงการ 2563/L7886/1/8 รหัสสัญญา 9/2563 ระยะเวลาโครงการ 12 พฤศจิกายน 2563 - 12 พฤศจิกายน 2563

แบบประเมินคุณค่าของโครงการที่เกี่ยวข้องกับการสร้างเสริมสุขภาพ เป็นการคุณค่าที่เกิดจากโครงการในมิติต่อไปนี้

  • ความรู้ด้านการสร้างเสริมสุขภาพและนวัตกรรมเชิงระบบสุขภาพชุมชน
  • การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมที่มีผลต่อสุขภาวะ
  • การปรับเปลี่ยนสิ่งแวดล้อมที่เอื้อต่อสุขภาวะ
  • ผลกระทบเชิงบวกและนโยบายสาธารณะที่เอื้อต่อการสร้างสุขภาวะชุมชน
  • กระบวนการชุมชน
  • มิติสุขภาวะปัญญา / สุขภาวะทางจิตวิญญาณ

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่

1. เกิดความรู้ หรือ นวัตกรรมชุมชน

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. ความรู้ใหม่ / องค์ความรู้ใหม่

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. สิ่งประดิษฐ์ / ผลผลิตใหม่

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. กระบวนการใหม่

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. วิธีการทำงาน / การจัดการใหม่

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
5. การเกิดกลุ่ม / โครงสร้างในชุมชนใหม่

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
6. แหล่งเรียนรู้ใหม่

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
99. อื่นๆ

 

 

 

2. เกิดการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมที่เอื้อต่อสุขภาพ

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. การดูแลสุขอนามัยส่วนบุคคล

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. การบริโภค

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. การออกกำลังกาย

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. การลด ละ เลิก อบายมุข เช่น การพนัน เหล้า บุหรี่

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
5. การลดพฤติกรรมเสี่ยง เช่น พฤติกรรมเสี่ยงทางเพศ การขับรถโดยประมาท

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
6. การจัดการอารมณ์ / ความเครียด

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
7. การดำรงชีวิต / วิถีชีวิต เช่น การใช้ภูมิปัญญาท้องถิ่น / สมุนไพรในการดูแลสุขภาพตนเอง

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
8. พฤติกรรมการจัดการตนเอง ครอบครัว ชุมชน

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
9. อื่นๆ

 

 

 

3. การสร้างสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อสุขภาพ (กายภาพ สังคม และเศรษฐกิจ)

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. กายภาพ เช่น มีการจัดการขยะ ป่า น้ำ การใช้สารเคมีเกษตร และการสร้างสิ่งแวดล้อมในครัวเรือนที่ถูกสุขลักษณะ

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. สังคม เช่น มีความปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สิน ลดการเกิดอุบัติเหตุ ครอบครัวอบอุ่น การจัดสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อเด็ก เยาวชน และกลุ่มวัยต่าง ๆ มีพื้นที่สาธารณะ/พื้นที่ทางสังคม เพื่อเอื้อต่อการส่งเสริมสุขภาพของคนในชุมชน มีการใช้ศาสนา/วัฒนธรรมเป็นฐานการพัฒนา

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. เศรษฐกิจสร้างสรรค์สังคม /สร้างอาชีพ / เพิ่มรายได้

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. มีการบริการสุขภาพทางเลือก และมีช่องทางการเข้าถึงระบบบริการสุขภาพ

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
5. อื่นๆ

 

 

 

4. การพัฒนานโยบายสาธารณะที่เอื้อต่อสุขภาวะ

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. มีกฎ / กติกา ของกลุ่ม ชุมชน

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. มีมาตรการทางสังคมของกลุ่ม ชุมชน

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. มีธรรมนูญของชุมชน

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. อื่นๆ เช่น ออกเป็นข้อบัญญัติท้องถิ่น ฯลฯ

 

 

 

5. เกิดกระบวนการชุมชน

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. เกิดการเชื่อมโยงประสานงานระหว่างกลุ่ม / เครือข่าย (ใน และหรือนอกชุมชน)

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. การเรียนรู้การแก้ปัญหาชุมชน (การประเมินปัญหา การวางแผน การปฏิบัติการ และการประเมิน)

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. การใช้ประโยชน์จากทุนในชุมชน เช่น การระดมทุน การใช้ทรัพยากรบุคคลในชุมชน

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. มีการขับเคลื่อนการดำเนินงานของกลุ่มและชุมชนที่เกิดจากโครงการอย่างต่อเนื่อง

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
5. เกิดกระบวนการจัดการความรู้ในชุมชน

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
6. เกิดทักษะในการจัดการโครงการ เช่น การใช้ข้อมูลในการตัดสินใจ การทำแผนปฏิบัติการ

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
7. อื่นๆ

 

 

 

6. มิติสุขภาวะปัญญา / สุขภาวะทางจิตวิญญาณ

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. ความรู้สึกภาคภูมิใจในตัวเอง / กลุ่ม / ชุมชน

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. การเห็นประโยชน์ส่วนรวมและส่วนตนอย่างสมดุล

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. การใช้ชีวิตอย่างเรียบง่าย และพอเพียง

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. ชุมชนมีความเอื้ออาทร

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
5. มีการตัดสินใจโดยใช้ฐานปัญญา

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
6. อื่นๆ

 

 

 

โครงการส่งเสริมสุขภาพ การลด ละ เลิก บุหรี่ ตามวิถีเจ๊ะบิลัง จังหวัด สตูล

รหัสโครงการ 2563/L7886/1/8

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นางสาวโสพินทร์ แก้วมณี )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด