กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลนาท่อม


“ โครงการเกษตรน้อยเรียนรู้อยู่อย่างพอเพียง ปี 2563 ”

ตำบลนาท่อม อำเภอเมืองพัทลุง จังหวัดพัทลุง

หัวหน้าโครงการ
นางประทีป มณี

ชื่อโครงการ โครงการเกษตรน้อยเรียนรู้อยู่อย่างพอเพียง ปี 2563

ที่อยู่ ตำบลนาท่อม อำเภอเมืองพัทลุง จังหวัดพัทลุง จังหวัด พัทลุง

รหัสโครงการ 63-L3356-3-02 เลขที่ข้อตกลง 15/2563

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 กรกฎาคม 2563 ถึง 30 กันยายน 2563


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการเกษตรน้อยเรียนรู้อยู่อย่างพอเพียง ปี 2563 จังหวัดพัทลุง" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลนาท่อม อำเภอเมืองพัทลุง จังหวัดพัทลุง

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลนาท่อม ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการเกษตรน้อยเรียนรู้อยู่อย่างพอเพียง ปี 2563



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการเกษตรน้อยเรียนรู้อยู่อย่างพอเพียง ปี 2563 " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลนาท่อม อำเภอเมืองพัทลุง จังหวัดพัทลุง รหัสโครงการ 63-L3356-3-02 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 กรกฎาคม 2563 - 30 กันยายน 2563 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 7,400.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลนาท่อม เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

“เด็กไม่กินผัก” เป็นปัญหาสากลที่พบได้ทั่วโลก แม้ผักจะมีคุณค่าทางโภชนาการสูง แต่ด้วยสี รูปร่าง กลิ่น และรสชาติ อาจทำให้เด็กบางคนไม่ชอบจนถึงขั้นเกลียดผักเลยก็มี ผักนับเป็นอาหารที่ดีต่อสุขภาพทั้งของเด็กและผู้ใหญ่ เพราะมีใยอาหาร วิตามิน เกลือแร่ และสารต้านอนุมูลอิสระ ช่วยส่งเสริมพัฒนาการของลูกน้อยได้เป็นอย่างดี แต่ถึงอย่างนั้นก็ยังพบว่าเด็กมีปัญหากับการกินผักด้วยหลากหลายสาเหตุ อาทิ     • ไม่ชอบรูปลักษณ์ กลิ่น สี และรสชาติขมเฝื่อน ๆ ของผัก     • ไม่ยอมกินผักเพราะเลียนแบบคนในครอบครัว     • โดนบังคับให้กินทั้งที่ยังไม่พร้อม จึงเกิดการต่อต้าน     • ชินกับอาหารอ่อน พอเจอผักที่เคี้ยวยากเลยไม่ชอบ ไม่อยากเคี้ยว เด็กแต่ละคนมีสาเหตุของการไม่กินผักแตกต่างกัน แต่เมื่อผู้ปกครองหรือครูหาสาเหตุพบแล้ว ควรรีบแก้ไขโดยปลูกฝังทัศนคติที่ดีต่อการกินผักให้เด็ก เพื่อให้เขารู้ว่าผักไม่ได้มีแต่รสขมเฝื่อนและไม่น่ากินเสมอไป ซึ่งเทคนิคหนึ่งที่ช่วยส่งเสริมให้เด็กกลับมากินผักได้ คือการทำเมนูผักให้ดูน่ากิน รสชาติหวานอร่อยไม่เหมือนผักนั่นเอง การสร้างแรงจูงใจในการกินผักโดยให้เด็กปลูกผักด้วยตนเอง
    ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านหนองปรางมีนักเรียนจำนวน 45 คน จากการสังเกตการณ์รับประทานอาหารของเด็กพบว่ามีเด็กไม่กินผักเลยจำนวน 6 คน กินบ้างเล็กน้อย จำนวน 29 คน กินผักจำนวน 10 คน เพื่อสร้างแรงจูงใจเด็กที่ไม่กินผักเลยหันมากินผัก และเด็กที่กินผักเล็กน้อยมากินผักมากขึ้น ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านหนองปรางจึงได้จัดทำโครงการเกษตรน้อยเรียนรู้อยู่อย่างพอเพียง โดยให้เด็กปลูกผักด้วยตนเองคนละ 1 กระถางเพื่อสะดวกในการดูแลของเด็กเล็ก และนำผักที่ตนเองปลูกและผักหลากหลายชนิดมาทำเมนูผักให้ดูน่ากิน เด็กจะได้มีความภาคภูมิใจและมีแรงกระตุ้นในการกินผักเพิ่มมากขึ้น

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อให้สามารถดูแลผู้ป่วยรายใหม่ได้อย่างเหมาะสมและทันท่วงที
  2. เพื่อส่งเสริมให้เด็กได้รับประทานผัก

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. กิจกรรมให้ความรู้ประโยชน์ของผักโดยใช้โมเดลผักหรือสื่ออื่นๆ
  2. กิจกรรมปลูกพืชผักสวนครัวโดยปลูกในกระถาง
  3. กิจกรรมเชฟน้อย

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน 55
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

1 เด็กนักเรียนได้เรียนรู้ประโยชน์ของผัก 2 เด็กนักเรียนได้รับประทานผักที่ตัวเองปลูกและส่งเสริมให้เด็กรับประทานผักเพิ่มขึ้น


ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

1. กิจกรรมให้ความรู้ประโยชน์ของผักโดยใช้โมเดลผักหรือสื่ออื่นๆ

วันที่ 20 ตุลาคม 2563

กิจกรรมที่ทำ

ค่าจัดซื้อโมเดลผักและสื่อเกี่ยวกับเรื่องผักจำนวน 1,000 บาท

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

1 เด็กนักเรียนได้เรียนรู้ประโยชน์ของผัก 2 เด็กนักเรียนได้รับประทานผักที่ตัวเองปลูกและส่งเสริมให้เด็กรับประทานผักเพิ่มขึ้น

 

55 0

2. กิจกรรมปลูกพืชผักสวนครัวโดยปลูกในกระถาง

วันที่ 20 ตุลาคม 2563

กิจกรรมที่ทำ

กิจกรรมการปลูกพืชผักสวนครัว โดยการให้เด็กรับผิดชอบคนละ 1 กระถางเพื่อให้เด็กทุกคนได้เรียนรู้อย่างทั่วถึง เด็กจะได้รู้สึกภาคภูมิใจและจูงใจให้เด็กได้รับประทานผักที่ตัวเองปลูก - ค่าจัดซื้อเมล็ดพันธ์ผัก เป็นเงิน  1,000  บาท - ค่าจัดซื้อปุ๋ย เป็นเงิน 1,000 บาท - ค่าจัดซื้อกระถางปลูกจำนวน 70 ใบๆละ25 บาท เป็นเงิน 1,750 บาท - ค่าจัดซื้อดินปลูก จำนวน 100 ถุงๆละ 20 บาท เป็นเงิน 2,000 บาท

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

1 เด็กนักเรียนได้เรียนรู้ประโยชน์ของผัก   2 เด็กนักเรียนได้รับประทานผักที่ตัวเองปลูกและส่งเสริมให้เด็กรับประทานผักเพิ่มขึ้น

 

55 0

3. กิจกรรมเชฟน้อย

วันที่ 20 ตุลาคม 2563

กิจกรรมที่ทำ

ทำเมนูอาหารผักทอดกรอบ - ค่าจัดซื้อน้ำมันพืช 2 ขวดๆละ 50 บาทเป็นเงิน 100 บาท - ค่าจัดซื้อแป้งทอดกรอบขนาด 500 กรัมจำนวน 6 ถุงๆละ 50 บาท เป็นเงิน 300 บาท - ค่าจัดซื้อผักชนิดต่างๆ จำนวน 250 บาท

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

1.เด็กที่ไม่กินผักเลย(6คน)กินผักเพิ่มขึ้นร้อยละ50 2.เด็กที่กินผักบ้างเล็กน้อย(29คน)กินผักเพิ่มขึ้นร้อยละ50

 

55 0

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เพื่อให้สามารถดูแลผู้ป่วยรายใหม่ได้อย่างเหมาะสมและทันท่วงที
ตัวชี้วัด : เด็กเล็กศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านหนองปรางทุกคนได้เรียนรู้ประโยชน์ของผัก
0.00

 

2 เพื่อส่งเสริมให้เด็กได้รับประทานผัก
ตัวชี้วัด : 1.เด็กที่ไม่กินผักเลย(6คน)กินผักเพิ่มขึ้นร้อยละ50 2.เด็กที่กินผักบ้างเล็กน้อย(29คน)กินผักเพิ่มขึ้นร้อยละ50
0.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 55
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน 55
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อให้สามารถดูแลผู้ป่วยรายใหม่ได้อย่างเหมาะสมและทันท่วงที (2) เพื่อส่งเสริมให้เด็กได้รับประทานผัก

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) กิจกรรมให้ความรู้ประโยชน์ของผักโดยใช้โมเดลผักหรือสื่ออื่นๆ (2) กิจกรรมปลูกพืชผักสวนครัวโดยปลูกในกระถาง (3) กิจกรรมเชฟน้อย

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการเกษตรน้อยเรียนรู้อยู่อย่างพอเพียง ปี 2563 จังหวัด พัทลุง

รหัสโครงการ 63-L3356-3-02

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นางประทีป มณี )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด