กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลนาท่อม


“ โครงการโภชนาการอาหารสมวัยของศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านหนองปราง ”

ตำบลนาท่อม อำเภอเมืองพัทลุง จังหวัดพัทลุง

หัวหน้าโครงการ
นางประทีป มณี

ชื่อโครงการ โครงการโภชนาการอาหารสมวัยของศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านหนองปราง

ที่อยู่ ตำบลนาท่อม อำเภอเมืองพัทลุง จังหวัดพัทลุง จังหวัด พัทลุง

รหัสโครงการ 63-L3356-3-04 เลขที่ข้อตกลง 17/2563

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 กรกฎาคม 2563 ถึง 30 กันยายน 2563


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการโภชนาการอาหารสมวัยของศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านหนองปราง จังหวัดพัทลุง" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลนาท่อม อำเภอเมืองพัทลุง จังหวัดพัทลุง

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลนาท่อม ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการโภชนาการอาหารสมวัยของศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านหนองปราง



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการโภชนาการอาหารสมวัยของศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านหนองปราง " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลนาท่อม อำเภอเมืองพัทลุง จังหวัดพัทลุง รหัสโครงการ 63-L3356-3-04 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 กรกฎาคม 2563 - 30 กันยายน 2563 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 18,460.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลนาท่อม เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

  1. เสนอโครงการต่อคณะกรรมการกองทุนหลักประกันสุขภาพเทศบาลตำบลนาท่อมเพื่อพิจารณา
  2. ประชุม ครู ครูผู้ดูแลเด็ก และเจ้าหน้าที่ เพื่อวางแผนแนวทางการดำเนินงาน   2.1 เชิญวิทยากรที่มีความรู้ทางด้านโภชนาการมาให้ความรู้กับ ครู ครูผู้ดูแลเด็ก แม่ครัว ผู้ปกครอง เจ้าหน้าที่ที่เกี่ยวข้องให้ความรู้เกี่ยวกับโภชนาการเด็กหลักการประกอบอาหารสำหรับเด็กปฐมวัย การเลือกซื้ออาหารที่สดมีคุณภาพ   2.2 การลงมือปฏิบัติการทำอาหารเพื่อเด็กปฐมวัยที่ถูกต้องได้สารอาหารครบทั้ง ๕ หมู่ พร้อมแนะนำวิธีการจัดจานสำหรับเด็กปฐมวัย   2.3 การปฏิบัติให้ผู้เข้าร่วมอบรมแบ่งกลุ่มลงมือปฏิบัติในการทำอาหารสำหรับเด็กปฐมวัยจำนวน 2 มื้อ ใน 1 วัน โดยแบ่งเป็นมื้อละ 2 กลุ่ม มื้อเช้า 2 กุล่ม มื้อเที่ยง 2 กลุ่มโดย ให้แต่ละกลุ่มกำหนดรายการอาหารเองอย่าให้ซ้ำกันปรุงเสร็จนำมาเปรียบเทียบในด้านการหั่นผักที่ให้เด็กชวนกินและการจัดจานที่สวยงาม   2.4 นำเสนออาหารแต่กลุ่ม ดูวีการจัดจาน การเลือกอาหาร เอาความรู้ที่อบรมมากำหนดรายการอาหาร การกำหนดรายการอาหารใน 2 มื้อ ดูความถูกต้องเหมาะสม   2.5 สรุปผลการอบรมทำแบบสอบถามความพึงพอใจ ของกิจกรรมที่อบรม   2.6 การติดตามจดบันทึกการเปลี่ยนแปลงจากน้ำหนักส่วนสูงของนักเรียนทุกๆ 3 เดือน การจัดซื้ออาหารที่สด การจัดตกแต่งจานให้เด็กรับประทานในแต่ละวันที่ ศูนย์ดูติดตามแม่ครัว ผู้ปกครองทำแบบสอบถามให้ผู้ปกครองนำมาสรุปรายงานผล
  3. ทดสอบพัฒนาการ นักเรียนทุกคนในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านหนองปรางด้วยเครื่องมือทดสอบ ( DPSM ) ( ทดสอบตามช่วงอายุของเด็ก แต่ละช่วงอายุ ) ทำเทอมละ 1 เทอม เดือนกันยายน 2563   3.1 จดบันทึก แจ้งผลให้กรรมการทราบถึงความเปลี่ยนแปลง
  4. รายงานผลการดำเนินโครงการ

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อให้ครู ครูผู้ดูแลเด็ก ผู้ปกครอง แม่ครัว เจ้าหน้าที่ที่เกี่ยวข้องได้รับความรู้เกี่ยวกับโภชนาการของเด็กในการเลือกซื้ออาหารที่มีสด การประกอบอาหาร การตกแต่งจาน การปรุงอาหารสำหรับเด็กปฐมวัย
  2. เพื่อให้เด็กที่มีภาวะโภชนาการไม่เป็นไปตามเกณฑ์ ได้มีภาวะโภชนาการที่ดีขึ้น

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. กิจกรรมอบรมให้ความรู้ครู ครูผู้ดูแลเด็ก ผู้ปกครองและ เจ้าหน้าที่ที่เกี่ยวข้องเกี่ยวกับโภชนาการของเด็ก 60 คน
  2. ลงพื้นที่ติดตามเยี่ยมบ้านเด็กที่มีภาวะโภชนาการต่ำกว่าเกณฑ์
  3. ทดสอบพัฒนาการนักเรียนที่อยู่ในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านหนองปรางทุกคน ด้วยเครื่อง ทดสอบ DPSM พร้อมจดบันทึกแจ้งผลผู้ปกครอง
  4. การอบรมลงมือปฏิบัติการประกอบอาหารสำหรับเด็กปฐมวัยใน 1 มื้อจำนวน 4 มื้อ ( มื้อเช้า มื้อกลางวัน )

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน 55
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน 5
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

  1. ครู ครูผู้ดูแลเด็ก ผู้ปกครอง แม่ครัว เจ้าหน้าที่ที่เกี่ยวข้องได้รับความรู้เกี่ยวกับโภชนาการของเด็กในการเลือกซื้ออาหารที่สด รู้จักการประกอบอาหาร การตกแต่งจาน การปรุงอาหารสำหรับเด็กปฐมวัย
  2. เด็กที่มีภาวะโภชนาการไม่เป็นไปตามเกณฑ์ มีโภชนาการดีขึ้น

ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

1. กิจกรรมอบรมให้ความรู้ครู ครูผู้ดูแลเด็ก ผู้ปกครองและ เจ้าหน้าที่ที่เกี่ยวข้องเกี่ยวกับโภชนาการของเด็ก 60 คน

วันที่ 18 พฤศจิกายน 2563

กิจกรรมที่ทำ

อบรมให้ความรู้ผู้ปกครอง ครู เจ้าหน้าท่ีท่ีเกี่ยวข้องด้านอาหารท่ีเหมาะสมสำหรับเด็กปฐมวัยที่เหมาะสมใน 1 วัน มีมื้อเช้า  มื้อเที่ยง  ,มื้อเย็น ท่ีเหมาะสมกับเด็กในแต่ละช่วงอายุและในปริมณที่เหมาะสมกับเด็ก - ค่าวิทยากร จำนวน 6 ชม.ๆละ 300 บาท เป็นเงิน 1,800 บาท - ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม จำนวน 60 คนๆละ 20 บาท 1,200 บาท

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ครู ครูผู้ดูเด็ก ผู้ปกครอง เจ้าหน้าที่ที่เกี่ยวข้องทุกคนที่เข้าร่วมโครงการได้รับความรู้เกี่ยวกับโภชนาการของเด็กปฐมวัยเพิ่มขึ้น ร้อยละ50

 

60 0

2. ลงพื้นที่ติดตามเยี่ยมบ้านเด็กที่มีภาวะโภชนาการต่ำกว่าเกณฑ์

วันที่ 18 พฤศจิกายน 2563

กิจกรรมที่ทำ

ลงพื้นท่ีเยี่ยมบ้านนักเรียนท่ีมีน้ำหนักน้อยกว่าเกณฑ์จำนวน 19 คนครูเตรียมเคร่ืองชั่งน้ำนักท่ีวัดส่วนสูง อาหารเสริมนมสำหรับเด็ก ติดท่ีวัดส่วนสูงไว้ท่ีบ้านนักเรียนเพื่อผู้ปกครองจะได้วัดส่วนสูงนักเรียนและครูติดตามเยี่ยมบ้านทุกเดือนและติดตามประเมินผลเด็ก - ค่าจัดซื้อเครื่องชั่งน้ำหนักแบบดิจิตอล จำนวน 1 เครื่องๆ เป็นเงิน  2,500  บาท - ค่าอาหารเสริมนมสำหรับเด็ก 19 คนๆละ 200 บาทเป็นเงิน 3,800  บาท - ค่าจัดซื้อที่วัดส่วนสูง จำนวน 19 ชุดๆละ  50 บาท เป็นเงิน  950  บาท

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

การติดตามจดบันทึกการเปลี่ยนแปลงจากน้ำหนักส่วนสูงของนักเรียนทุกๆ 3 เดือน และติดตามประเมินผล สรุปรายงานนักเรียนจำนวน 19 คน มีนักเรียนผ่านเกณฑ์ จำนวน 11 คน ครูคอยติดตามสรุปรายงานผลและส่งต่อไปยังรพสต.

 

19 0

3. ทดสอบพัฒนาการนักเรียนที่อยู่ในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านหนองปรางทุกคน ด้วยเครื่อง ทดสอบ DPSM พร้อมจดบันทึกแจ้งผลผู้ปกครอง

วันที่ 17 ธันวาคม 2563

กิจกรรมที่ทำ

ทดสอบพัฒนาการเด็กตามช่วงอายุของเด็กแต่ละวัยตามหัวข้อการประเมินเด็กของช่วงอายุท่ีไม่เหมือนกันขึ้นอยู่กับเด็กแต่ละวัยทดสอบด้วยเคร่ืองมือ DSPMว่าเด็กสามารถปฏิบัติได้ผ่านหรือไม่ผ่านถ้าไม่ผ่านครูคอยติดตามชี้แนะให้จนกว่าเด็กจะปฏิบัติได้ถ้าไม่ได้ส่งต่อรพสต.(เพื่อช่วยเหลือเด็กให้มีพัฒนาการสมวัย) - ค่าจัดซื้อเครื่องมือทดสอบพัฒนาการเด็ก ( DPSM ) จำนวน 1 ชุดๆละ 3,410  บาท

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ทดสอบพัฒนาการ นักเรียนทุกคนในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านหนองปรางด้วยเครื่องมือทดสอบ ( DPSM ) ( ทดสอบตามช่วงอายุของเด็กcต่ละช่วงอายุ ) ทำเทอมละ  1 เทอม เดือนกันยายน  2563   จดบันทึก แจ้งผลให้กรรมการทราบถึงความเปลี่ยนแปลง

 

55 0

4. การอบรมลงมือปฏิบัติการประกอบอาหารสำหรับเด็กปฐมวัยใน 1 มื้อจำนวน 4 มื้อ ( มื้อเช้า มื้อกลางวัน )

วันที่ 17 ธันวาคม 2563

กิจกรรมที่ทำ

  • ค่าจัดซื้อวัสดุของสดในการประกอบอาหารเด็กปฐมวัย จำนวน 4 มื้อๆละ 1,200 บาท (มื้อเช้า  2 กลุ่ม, มื้อกลางวัน 2 กลุ่ม) เป็นเงิน 4,800 บาท

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

เด็กมีภาวะโภชนาการเป็นไปตามเกณฑ์มาตรฐานเพิ่มขึ้นร้อยละ  50

 

55 0

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เพื่อให้ครู ครูผู้ดูแลเด็ก ผู้ปกครอง แม่ครัว เจ้าหน้าที่ที่เกี่ยวข้องได้รับความรู้เกี่ยวกับโภชนาการของเด็กในการเลือกซื้ออาหารที่มีสด การประกอบอาหาร การตกแต่งจาน การปรุงอาหารสำหรับเด็กปฐมวัย
ตัวชี้วัด : ครู ครูผู้ดูเด็ก ผู้ปกครอง เจ้าหน้าที่ที่เกี่ยวข้องทุกคนที่เข้าร่วมโครงการได้รับความรู้เกี่ยวกับโภชนาการของเด็กปฐมวัยเพิ่มขึ้น ร้อยละ50
0.00

 

2 เพื่อให้เด็กที่มีภาวะโภชนาการไม่เป็นไปตามเกณฑ์ ได้มีภาวะโภชนาการที่ดีขึ้น
ตัวชี้วัด : เด็กมีภาวะโภชนาการเป็นไปตามเกณฑ์มาตรฐานเพิ่มขึ้นร้อยละ 50
0.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 60
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน 55
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน 5
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อให้ครู  ครูผู้ดูแลเด็ก  ผู้ปกครอง แม่ครัว เจ้าหน้าที่ที่เกี่ยวข้องได้รับความรู้เกี่ยวกับโภชนาการของเด็กในการเลือกซื้ออาหารที่มีสด การประกอบอาหาร  การตกแต่งจาน  การปรุงอาหารสำหรับเด็กปฐมวัย (2) เพื่อให้เด็กที่มีภาวะโภชนาการไม่เป็นไปตามเกณฑ์ ได้มีภาวะโภชนาการที่ดีขึ้น

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) กิจกรรมอบรมให้ความรู้ครู  ครูผู้ดูแลเด็ก  ผู้ปกครองและ เจ้าหน้าที่ที่เกี่ยวข้องเกี่ยวกับโภชนาการของเด็ก  60  คน (2) ลงพื้นที่ติดตามเยี่ยมบ้านเด็กที่มีภาวะโภชนาการต่ำกว่าเกณฑ์ (3) ทดสอบพัฒนาการนักเรียนที่อยู่ในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านหนองปรางทุกคน ด้วยเครื่อง ทดสอบ DPSM  พร้อมจดบันทึกแจ้งผลผู้ปกครอง (4) การอบรมลงมือปฏิบัติการประกอบอาหารสำหรับเด็กปฐมวัยใน 1 มื้อจำนวน 4 มื้อ  ( มื้อเช้า  มื้อกลางวัน )

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


ส่วนที่ 3 ประเมินคุณค่าโครงการ

แบบประเมินคุณค่าของโครงการที่เกี่ยวข้องกับการสร้างเสริมสุขภาพ

ชื่อโครงการ โครงการโภชนาการอาหารสมวัยของศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านหนองปราง

รหัสโครงการ 63-L3356-3-04 รหัสสัญญา 17/2563 ระยะเวลาโครงการ 1 กรกฎาคม 2563 - 30 กันยายน 2563

แบบประเมินคุณค่าของโครงการที่เกี่ยวข้องกับการสร้างเสริมสุขภาพ เป็นการคุณค่าที่เกิดจากโครงการในมิติต่อไปนี้

  • ความรู้ด้านการสร้างเสริมสุขภาพและนวัตกรรมเชิงระบบสุขภาพชุมชน
  • การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมที่มีผลต่อสุขภาวะ
  • การปรับเปลี่ยนสิ่งแวดล้อมที่เอื้อต่อสุขภาวะ
  • ผลกระทบเชิงบวกและนโยบายสาธารณะที่เอื้อต่อการสร้างสุขภาวะชุมชน
  • กระบวนการชุมชน
  • มิติสุขภาวะปัญญา / สุขภาวะทางจิตวิญญาณ

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่

1. เกิดความรู้ หรือ นวัตกรรมชุมชน

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. ความรู้ใหม่ / องค์ความรู้ใหม่

ผู้ปกครอง ครู ผู้ท่ีเกี่ยวข้องได้รับความรู้เร่ืองอาหารโภขนาการท่ีเหมาะสมสำหรับเด็กปฐมวัยในแต่ละมื้อ

https://localfund.happynetwork.org/project/80453/eval.valuation

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. สิ่งประดิษฐ์ / ผลผลิตใหม่

ผู้ปกครอง ครู ผู้ท่ีเกี่ยวข้องได้ทราบการปรุงอาหารการเลือกซื้ออาหารตกแต่งจานท่ีถูกต้องสวยงาม

https://localfund.happynetwork.org/project/80453/eval.valuation

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. กระบวนการใหม่

ได้ทราบกระบวนการ การบริโภคอาหารท่ีถูกต้อง และความเป็นอยู่ของเด็กรวมถึงให้เด็กมีภาวะโภชนาการท่ีสมส่วนตามวัย

https://localfund.happynetwork.org/project/80453/eval.valuation

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. วิธีการทำงาน / การจัดการใหม่

ได้ทราบความสำคัญการจัดหาจัดเตรียมอาหาร การทดสอบพัฒนาการและการชั่งน้ำหนักวัดส่วนสูงการติดตามประเมินผลของเด็กปฐมวัยให้เป็นไปตามวัยท่ีเหมาะสม

https://localfund.happynetwork.org/project/80453/eval.valuation

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
5. การเกิดกลุ่ม / โครงสร้างในชุมชนใหม่

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
6. แหล่งเรียนรู้ใหม่

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
99. อื่นๆ

 

 

 

2. เกิดการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมที่เอื้อต่อสุขภาพ

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. การดูแลสุขอนามัยส่วนบุคคล

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. การบริโภค

ได้ทราบการบริโภคอาหารท่ีมีสารอาหารท่ีครบถ้วนและปริมาณท่ีเหมาะสมตามวัยตลอดจนการบริโภคอาหารท่ีมีคุณค่าตามหลักโภชนาการ

https://localfund.happynetwork.org/project/80453/eval.valuation

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. การออกกำลังกาย

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. การลด ละ เลิก อบายมุข เช่น การพนัน เหล้า บุหรี่

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
5. การลดพฤติกรรมเสี่ยง เช่น พฤติกรรมเสี่ยงทางเพศ การขับรถโดยประมาท

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
6. การจัดการอารมณ์ / ความเครียด

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
7. การดำรงชีวิต / วิถีชีวิต เช่น การใช้ภูมิปัญญาท้องถิ่น / สมุนไพรในการดูแลสุขภาพตนเอง

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
8. พฤติกรรมการจัดการตนเอง ครอบครัว ชุมชน

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
9. อื่นๆ

 

 

 

3. การสร้างสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อสุขภาพ (กายภาพ สังคม และเศรษฐกิจ)

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. กายภาพ เช่น มีการจัดการขยะ ป่า น้ำ การใช้สารเคมีเกษตร และการสร้างสิ่งแวดล้อมในครัวเรือนที่ถูกสุขลักษณะ

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. สังคม เช่น มีความปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สิน ลดการเกิดอุบัติเหตุ ครอบครัวอบอุ่น การจัดสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อเด็ก เยาวชน และกลุ่มวัยต่าง ๆ มีพื้นที่สาธารณะ/พื้นที่ทางสังคม เพื่อเอื้อต่อการส่งเสริมสุขภาพของคนในชุมชน มีการใช้ศาสนา/วัฒนธรรมเป็นฐานการพัฒนา

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. เศรษฐกิจสร้างสรรค์สังคม /สร้างอาชีพ / เพิ่มรายได้

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. มีการบริการสุขภาพทางเลือก และมีช่องทางการเข้าถึงระบบบริการสุขภาพ

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
5. อื่นๆ

 

 

 

4. การพัฒนานโยบายสาธารณะที่เอื้อต่อสุขภาวะ

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. มีกฎ / กติกา ของกลุ่ม ชุมชน

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. มีมาตรการทางสังคมของกลุ่ม ชุมชน

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. มีธรรมนูญของชุมชน

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. อื่นๆ เช่น ออกเป็นข้อบัญญัติท้องถิ่น ฯลฯ

 

 

 

5. เกิดกระบวนการชุมชน

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. เกิดการเชื่อมโยงประสานงานระหว่างกลุ่ม / เครือข่าย (ใน และหรือนอกชุมชน)

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. การเรียนรู้การแก้ปัญหาชุมชน (การประเมินปัญหา การวางแผน การปฏิบัติการ และการประเมิน)

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. การใช้ประโยชน์จากทุนในชุมชน เช่น การระดมทุน การใช้ทรัพยากรบุคคลในชุมชน

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. มีการขับเคลื่อนการดำเนินงานของกลุ่มและชุมชนที่เกิดจากโครงการอย่างต่อเนื่อง

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
5. เกิดกระบวนการจัดการความรู้ในชุมชน

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
6. เกิดทักษะในการจัดการโครงการ เช่น การใช้ข้อมูลในการตัดสินใจ การทำแผนปฏิบัติการ

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
7. อื่นๆ

 

 

 

6. มิติสุขภาวะปัญญา / สุขภาวะทางจิตวิญญาณ

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. ความรู้สึกภาคภูมิใจในตัวเอง / กลุ่ม / ชุมชน

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. การเห็นประโยชน์ส่วนรวมและส่วนตนอย่างสมดุล

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. การใช้ชีวิตอย่างเรียบง่าย และพอเพียง

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. ชุมชนมีความเอื้ออาทร

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
5. มีการตัดสินใจโดยใช้ฐานปัญญา

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
6. อื่นๆ

 

 

 

โครงการโภชนาการอาหารสมวัยของศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านหนองปราง จังหวัด พัทลุง

รหัสโครงการ 63-L3356-3-04

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นางประทีป มณี )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด