กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

ผลลัพธ์ 1.คลินิกเบาหวานความดันโลหิตสูงของ รพสต.ยาบหัวนา ได้รวมเครือข่าย สสช.ฮากฮาน ได้พัฒนาเป็นคลินิก NCD   1.1มีรูปแบบการจัดระบบบริการในคลินิกที่ชัดเจนสามารถเพิ่มคุณภาพการดูแลผู้ป่วยเบาหวานความดันโลหิตสูงได้อย่างมีประสิทธิภาพ   2.2 การปรับระบบและกระบวนการบริการ           • ให้การวินิจฉัยและลงทะเบียนผู้ป่วยรายใหม่กลุ่มเสี่ยงสูงที่ส่งต่อจากเครือข่าย           • มีการประเมิน ระยะของโรค ความเสี่ยง โอกาสเสี่ยงและปัจจัยกําหนดของผู้รับบริการ
          • ให้การบริการป้องกันควบคุมโรค และดูแลรักษาสอดคล้องกับระยะของโรค โดยสหวิชาชีพ           • มีผู้ประสานงานโรคเรื้อรัง (NCDs Case Manager/Coordinator)           • มีเครือขายการดูแลและรักษาโรคเรื้อรังของสถานบรการและเชื่อมโยงไปยังชุมชน           • มีระบบส่งต่อทั้งไปและกลับที่ทําให้ผู้รับบริการเข้าถึงบริการได้ง่าย และได้รับการดูแลที่ ต่อเนื่อง   2.3  การประเมิน  ระยะของโรค ความเสี่ยง โอกาสเสี่ยง และปัจจัยกำหนดของผุ้รับบริการ
2.เพื่อสร้างการเข้าถึงบริการในด้านการรักษาและส่งเสริมสุขภาพผู้ป่วยเบาหวานความดันโลหิตสูงและญาติในชุมชน 2.1 รูปแบบให้ อสม ดูแลตามหลังคาที่รับผิดชอบ โดยการคัดกรองเบื้องต้น วัดความดันโลหิตเป็นประจำ ส่งผลการวัดทางกลุ่มไลน์ รวมถึงปัญหา การดูแลเรื่องอาหารวัดความเค็มของอาหาร การส่งต่อความรู้การปรับเปลี่ยนพฤติกรรม การรับประทานยา อย่างต่อเนื่อง กรณี ไม่สามารถไปรับบริการได้ ทาง รพ.สต.จะฝากยาถึงบ้าน
3.เพื่อสร้างการมีส่วนร่วมของผู้ป่วยและญาติในด้านการรักษาพยาบาลและส่งเสริมสุขภาพ 3.1การดูแลจะแบ่งเป็น 3 ประเภท คือ1. แบบไม่เร่งด่วน จะดูแลตามปกติ 2. แบบเร่งด่วนปานกลาง จะติดตามเป็นรายกรณี และประสานแพทย์และทรมสหวิชาชีพ 3.แบบเร่งด่วน ติดตามเป็นกรณีพิเศษรวมถึงเยี่ยมบ้าน ประสานแพทย์และทีมสหวิชาชีพ ได้รับมาตรฐานเป็น คลินิก NCD คุณภาพ ระดับ รพ.สต 1.ผู้ป่วยได้รับการตรวจสุขภาพประจำปี ตรวจคัดกรอง ภาวะแทรกซ้อน ตา จอประสาทตา ไต เท้า และตรวจแลปประจำปี
2.ให้ความรู้ เรื่อง โรคความดันโลหิตสูงโรคเบาหวาน ภาวะแทรกซ้อนจากโรคความดันโลหิตสูงโรคเบาหวาน โรคหลอดเลือดสมอง และการปฏิบัติตนในการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพในการป้องกันและควบคุมโรคความดันโลหิตสูงโรคเบาหวานโรคหลอดเลือดสมอง ,uมุมDPAC (Diet & Physical Activity Clinic )
3.ทีมสุขภาพร่วมกับอบต.ในการติดตามเยียมผู้ป่วยเบาหวานผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูงที่มีภาวะเสี่ยงต่อการ
วิเคราะห์ปัญหาจากการประเมิน แบบประเมินนาฬิกา HL

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เพื่อแก้ปัญหาประชาชนทีมีความเสี่ยงเป็นโรคเบาหวาน
ตัวชี้วัด : ร้อยละของประชาชนทีมีความเสี่ยงเป็นโรคเบาหวาน ลดลง
5.00 1.00 1.81

ผู้ดื่มสุราดื่มเครื่ิงดื่มชูกำลัง กินหวานมันเค็มเครียด

2 เพื่อแก้ปัญหาประชาชนที่มีความเสี่ยงเป็นโรคความดันโลหิตสูง
ตัวชี้วัด : ร้อยละประชาชนที่มีความเสี่ยงเป็นโรคความดันโลหิตสูง ลดลง
12.00 5.00 9.17

เครียด ดื่มสุรา สูบบุหรี่

3 เพื่อแก้ปัญหาประชาชนที่มีความเสี่ยงเป็นโรคหลอดเลือดสมอง(CVA)
ตัวชี้วัด : ร้อยละประชาชนที่มีความเสี่ยงเป็นโรคหลอดเลือดสมอง(CVA) ลดลง
8.00 2.00 0.17

ผู้ป่วยล้างไตทางหน้าท้องอยู่เดี่ยว

4 เพื่อแก้ปัญหาประชาชนที่มีป่วยด้วยโรคมะเร็งปากมดลูก
ตัวชี้วัด : ร้อยละของประชาชนที่มีป่วยด้วยโรคมะเร็งปากมดลูก ลดลง
0.00

 

5 เพื่อแก้ปัญหาผู้ป่วยเบาหวานที่เกิดภาวะแทรกซ้อน เช่น เบาหวานขึ้นจอประสาทตา แผล ไตวาย
ตัวชี้วัด : ร้อยละของผู้ป่วยเบาหวานที่เกิดภาวะแทรกซ้อน เช่น เบาหวานขึ้นจอประสาทตา แผล ไตวาย ลดลง
2.50 0.00 0.00

 

6 1.เพื่อพัฒนาคลินิกเบาหวานความดันโลหิตสูงและสร้างแนวทางในการดูแลผู้ป่วยเบาหวานความดันโลหิตสูงของโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลให้มีคุณภาพมาตรฐาน 2.เพื่อสร้างการเข้าถึงบริการในด้านการรักษาและส่งเสริมสุขภาพผู้ป่วยเบาหวานความดันโลหิตสูงและญาติในชุมชน 3.เพื่อสร้างการมีส่วนร่วมของผู้ป่วยและญาติในด้านการรักษาพยาบาลและส่งเสริมสุขภาพ
ตัวชี้วัด : 1.มีคลินิกเบาหวานความดันโลหิตสูงของโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลที่มีคุณภาพมาตรฐาน 2.กลุ่มเสี่ยง กลุ่มป่วย เข้า ร่วมกิจกรรม มากกว่า ร้อยละ 80 3.กลุ่มเสี่ยง กลุ่มป่วยและญาติสามารถการเข้าถึงบริการในด้านการรักษาและส่งเสริมสุขภาพได้มากกว่าร้อยละ 80 4.การมีส่วนร่วมของผู้ป่วยและญาติในด้านการรักษาพยาบาลและส่งเสริมสุขภาพมากกว่าร้อยละ 80
0.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 275 275
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน 0
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง 175 175
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 100 100
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อแก้ปัญหาประชาชนทีมีความเสี่ยงเป็นโรคเบาหวาน (2) เพื่อแก้ปัญหาประชาชนที่มีความเสี่ยงเป็นโรคความดันโลหิตสูง (3) เพื่อแก้ปัญหาประชาชนที่มีความเสี่ยงเป็นโรคหลอดเลือดสมอง(CVA) (4) เพื่อแก้ปัญหาประชาชนที่มีป่วยด้วยโรคมะเร็งปากมดลูก (5) เพื่อแก้ปัญหาผู้ป่วยเบาหวานที่เกิดภาวะแทรกซ้อน เช่น  เบาหวานขึ้นจอประสาทตา แผล ไตวาย (6) 1.เพื่อพัฒนาคลินิกเบาหวานความดันโลหิตสูงและสร้างแนวทางในการดูแลผู้ป่วยเบาหวานความดันโลหิตสูงของโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลให้มีคุณภาพมาตรฐาน  2.เพื่อสร้างการเข้าถึงบริการในด้านการรักษาและส่งเสริมสุขภาพผู้ป่วยเบาหวานความดันโลหิตสูงและญาติในชุมชน          3.เพื่อสร้างการมีส่วนร่วมของผู้ป่วยและญาติในด้านการรักษาพยาบาลและส่งเสริมสุขภาพ

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) สำรวจข้อมูลสุขภาพ การจัดทำทะเบียนและฐานข้อมูลสุขภาพ (2) รณรงค์ป้องกันโรคเบาหวาน (3) รณรงค์วันความดันโลหิตสูง (4) ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมกลุ่มป่วยโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูง (5) การปรับเปลี่ยนพฤติกรรม กลุ่มป่วย 175 คน (6) สรุปผลการดำเนินงาน (7) การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมกลุ่มสงสัย รายใหม่

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh