กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ยาบหัวนา


“ โครงการ รวมพลัง อสม ร่วมใจ ขจัด โรคภัยเงียบ ด้วยการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพตำบลยาบหัวนา ในปีงบประมาณ 2563 ”

อำเภอเวียงสา จังหวัดน่าน

หัวหน้าโครงการ
จีรนันท์ ศรีมุงคูณและคณะ

ชื่อโครงการ โครงการ รวมพลัง อสม ร่วมใจ ขจัด โรคภัยเงียบ ด้วยการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพตำบลยาบหัวนา ในปีงบประมาณ 2563

ที่อยู่ อำเภอเวียงสา จังหวัดน่าน จังหวัด น่าน

รหัสโครงการ 03 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 มกราคม 2563 ถึง 31 สิงหาคม 2563


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการ รวมพลัง อสม ร่วมใจ ขจัด โรคภัยเงียบ ด้วยการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพตำบลยาบหัวนา ในปีงบประมาณ 2563 จังหวัดน่าน" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน อำเภอเวียงสา จังหวัดน่าน

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ยาบหัวนา ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการ รวมพลัง อสม ร่วมใจ ขจัด โรคภัยเงียบ ด้วยการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพตำบลยาบหัวนา ในปีงบประมาณ 2563



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการ รวมพลัง อสม ร่วมใจ ขจัด โรคภัยเงียบ ด้วยการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพตำบลยาบหัวนา ในปีงบประมาณ 2563 " ดำเนินการในพื้นที่ อำเภอเวียงสา จังหวัดน่าน รหัสโครงการ 03 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 มกราคม 2563 - 31 สิงหาคม 2563 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 45,000.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ยาบหัวนา เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

จากการดำเนินการโครงการ อสม เพื่อนคู่ซี้ ปี 2562 และการคัดกรองสุขภาพประชาชนอายุ 30 ปี ขึ้นไป ในตำบลยาบหัวนา อำเภอเวียงสา จังหวัดน่าน ได้รับการคัดกรองสุขภาพ ร้อยละ 91 พบว่า ร้อยละ 32 ประชาชนอยู่ในกลุ่มเสี่ยง โรคความดันโลหิตสูง ร้อย 28 เสี่ยงโรคเบาหวาน จากสาเหตุ ประชาชนทำสวนยางตื่นนอนตีสอง ต้องดื่มกาแฟ บางคนดื่มวันละ 3 ซอง ดื่มเครื่องดื่มชูกำลัง รับประทานผลไม้ที่มีรสหวาน จำนวนมากและบ่อย เพราะหาซื้อง่ายราคาถูก บางคนดื่มสุรา สูบบุหรี่ มีภาวะความเครียด การรับประทานอาหารที่มีความเค็ม ประชาชนที่เป็นกลุ่มเสี่ยงยังขาดการปรับเปลี่ยนพบว่า ผู้ที่ดื่มสุราประจำเสียชีวิต 3 ราย ผู้ป่วยความดันโลหิตสูงเสียชีวิต 3 รายผู้ที่มีความดันโลหิตสูง ส่งต่อไป รพสต.ยาบหัวนา/สสช.ฮากฮาน/รพสต.บ่อหอย พบเป็นผู้ป่วยรายใหม่ จำนวน 9 รายทำให้คุณภาพชีวิตของประชาชนลดลงและก่อให้เกิดความสูญเสียทรัพยากรเป็นจำนวนมากในแต่ละปีได้แก่ โรคความดันโลหิตสูง โรคเบาหวาน โรคหลอดเลือดสมอง โรคหัวใจขาดเลือด อัมพาต และโรคมะเร็ง เป็นต้น การค้นหาและการตรวจสุขภาพของประชาชน ที่มุ่งเน้นให้ประชาชนทุกคนมีสุขภาพดีสามารถพึ่งพาตนเองทางด้านสุขภาพมากขึ้น ซึ่งส่วนใหญ่ประชาชนยังไม่ตระหนักถึงการดูแลตนเอง การตรวจสุขภาพและการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม เพราะคิดว่าสุขภาพร่างกายแข็งแรงไม่มีอาการของโรค ที่ถูกต้อง อสม ตำบลยาบหัวนา 7 หมู่บ้าน ประชากร 5,112 คน อสม 98 คน จากสภาพปัญหาและสภาพวิถีชีวิต ที่มีประชาชน 3 เผ่า ในตำบล ชมรม อสม ตำบลยาบหัวนาเล็งเห็นความสำคัญของการส่งเสริมสุขภาพเชิงรุกการเข้าถึงชุมชน จึงได้จัดทำ โครงการรวมพลัง อสม ร่วมใจ ขจัด โรคภัยเงียบ ด้วยการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพตำบลยาบหัวนา ขึ้น โดยจัดกิจกรรมบูรณาการงานสร้างเสริมสุขภาพการคัดกรองความเสี่ยงโรคเบาหวาน โรคความดันโลหิตสูง การให้คำแนะนำด้านสุขภาพ เพื่อค้นหาความเสี่ยงต่อการเกิดโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูง การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพที่สามารถปฏิบัติได้ เป็นการเตรียมความพร้อมการดูแลสุขภาพตั้งแต่ระยะเริ่มแรก อันจะทำให้ลดอัตราการเกิดโรคไม่ติดต่อเรื้อรังเพิ่มได้ในระยะยาว

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อเพิ่มจำนวนผู้ที่ต้องการลด ละ และเลิกดื่มเครื่องดื่มแอลกอฮอล์
  2. เพื่อเพิ่มอัตราการเลิกบุหรี่ได้สำเร็จติดต่อกันนานเกิน 6 เดือน โดยไม่กลับไปสูบซ้ำ
  3. เพื่อแก้ปัญหาประชาชนทีมีความเสี่ยงเป็นโรคเบาหวาน
  4. เพื่อแก้ปัญหาประชาชนที่มีความเสี่ยงเป็นโรคความดันโลหิตสูง
  5. เพื่อแก้ปัญหาประชาชนที่มีความเสี่ยงเป็นโรคหลอดเลือดสมอง(CVA)
  6. เพื่อแก้ปัญหาผู้ป่วยเบาหวานที่เกิดภาวะแทรกซ้อน เช่น เบาหวานขึ้นจอประสาทตา แผล ไตวาย
  7. เพื่อเพิ่มให้คนในชุมชนที่มีความรู้ ความเข้าใจเรื่องโควิด-19 จนสามารถปฏิบัติตัวเพื่อป้องกันโควิด-19 ได้ถูกต้อง
  8. เพื่อให้สถานที่ในชุมชนที่ใช้มาตรการป้องกันโควิด-19 มีเพิ่มขึ้น
  9. เพื่อเพิ่มจำนวนจิตอาสาที่สามารถช่วยเหลือคนในชุมชน
  10. เพิ่มการดูแล ป้องกัน คนที่มีความเสี่ยงต่อการเสียชีวิตจากโควิด-19 เช่น ผู้สูงอายุ ผู้ป่วยโรคเรื้อรัง (โรคเบาหวาน โรคความดันโลหิตสูง โรคไต โรคหอบหืดและระบบทางเดินหายใจ)
  11. เพิ่มการดูแล ป้องกัน คนที่มีความเสี่ยงต่อการเสียชีวิตจากโควิด-19 เช่น ผู้สูงอายุ ผู้ป่วยโรคเรื้อรัง (โรคเบาหวาน โรคความดันโลหิตสูง โรคไต โรคหอบหืดและระบบทางเดินหายใจ)
  12. เพิ่มการดูแล ป้องกัน คนที่มีความเสี่ยงต่อการเสียชีวิตจากโควิด-19 เช่น ผู้สูงอายุ ผู้ป่วยโรคเรื้อรัง (โรคเบาหวาน โรคความดันโลหิตสูง โรคไต โรคหอบหืดและระบบทางเดินหายใจ)
  13. เพิ่มจำนวนครัวเรือนที่มีอาหารครบ 5 หมู่ (ผัก ผลไม้ ไขมัน ข้าว แป้ง เนื้อสัตว์) บริโภคอย่างเพียงพอ

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. 2.ทำแผนออกปฏิบัติงานเชิงรุกในการดำเนินคัดกรองสุขภาพโรคเบาหวาน/โรคความดันโลหิตสูงประชาชนอายุ 30ปี ขึ้นไป
  2. 3.ประสานงานกับหน่วยงานที่เกี่ยวข
  3. ขั้นเตรียมการ1.ประชุมชี้แจงโครงการให้กับ อสม และผู้ส่วนเกี่ยวข้องรับทราบนโยบายและวัตถุประสงค์ของโครงการ
  4. อบรมกลุ่มเสี่ยงในการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมด้านการออกกำลังกาย การบริโภคอาหาร การจัดการความเครียด การลดการดื่มสุราและการลดเลิกบุหรี่

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน 175
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

ประชาชนกลุ่มเสี่ยงในตำบลยาบหัวนา เป็นมีความรู้ความเข้าใจในการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมและลดการเกิดโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง รายใหม่


ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

1. ขั้นเตรียมการ1.ประชุมชี้แจงโครงการให้กับ อสม และผู้ส่วนเกี่ยวข้องรับทราบนโยบายและวัตถุประสงค์ของโครงการ

วันที่ 30 มีนาคม 2563

กิจกรรมที่ทำ

  1. ค่าป้ายโครงการ ขนาด 3x1 เมตร จำนวน 1 ผืนๆละ 500 บาท รวม500 บาท
              2. จัดประชุมเตรียมความพร้อมด้านความรู้ ติดตาม ประเมิน ผลสรุป วิเคราะห์ คณะทำงาน อสม 98 คน             - ค่าแฟ้มชุดเอกสารเช่นสมุด ปากกา ดินสอ ชุดละ 20 บาท  จำนวน 98 คนเป็นเงิน 1,960 บาท
                - ค่าเทปกาวใส จำนวน 1 ม้วน เป็นเงิน 20 บาท
  2. ป้ายฟิวเจอร์บอร์ด เรื่อง อ้วนลงพุง และอาหารลดโรค 3 ชุดๆละ 1,690 บาท รวมเงิน 5,070  บาท         5.ชุดกระเป๋า อสม ใส่อุปกรณ์ ออกหมู่บ้าน  7 ชุดๆละ 1500 บาท รวมเงิน 10,500 บาท

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

กลุ่มสามารถเข้าถึงสื่อเพื่อเกิดความรู้ความตระหนักในการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม

 

0 0

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เพื่อเพิ่มจำนวนผู้ที่ต้องการลด ละ และเลิกดื่มเครื่องดื่มแอลกอฮอล์
ตัวชี้วัด : จำนวนผู้ดื่มเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ปัจจุบัน ทั้งดื่มประจำและครั้งคราว ที่ต้องการลด ละ และเลิกดื่ม เพิ่มขึ้นเป็น(คน)
20.00 40.00

 

2 เพื่อเพิ่มอัตราการเลิกบุหรี่ได้สำเร็จติดต่อกันนานเกิน 6 เดือน โดยไม่กลับไปสูบซ้ำ
ตัวชี้วัด : อัตราการเลิกบุหรี่ได้สำเร็จติดต่อกันนานเกิน 6 เดือนโดยไม่กลับไปสูบซ้ำเพิ่มขึ้นเป็น(ร้อยละ)
25.00 35.00

 

3 เพื่อแก้ปัญหาประชาชนทีมีความเสี่ยงเป็นโรคเบาหวาน
ตัวชี้วัด : ร้อยละของประชาชนทีมีความเสี่ยงเป็นโรคเบาหวาน ลดลง
5.00 2.00

 

4 เพื่อแก้ปัญหาประชาชนที่มีความเสี่ยงเป็นโรคความดันโลหิตสูง
ตัวชี้วัด : ร้อยละประชาชนที่มีความเสี่ยงเป็นโรคความดันโลหิตสูง ลดลง
12.00 5.00

 

5 เพื่อแก้ปัญหาประชาชนที่มีความเสี่ยงเป็นโรคหลอดเลือดสมอง(CVA)
ตัวชี้วัด : ร้อยละประชาชนที่มีความเสี่ยงเป็นโรคหลอดเลือดสมอง(CVA) ลดลง
8.00 0.00

 

6 เพื่อแก้ปัญหาผู้ป่วยเบาหวานที่เกิดภาวะแทรกซ้อน เช่น เบาหวานขึ้นจอประสาทตา แผล ไตวาย
ตัวชี้วัด : ร้อยละของผู้ป่วยเบาหวานที่เกิดภาวะแทรกซ้อน เช่น เบาหวานขึ้นจอประสาทตา แผล ไตวาย ลดลง
2.00 0.00

 

7 เพื่อเพิ่มให้คนในชุมชนที่มีความรู้ ความเข้าใจเรื่องโควิด-19 จนสามารถปฏิบัติตัวเพื่อป้องกันโควิด-19 ได้ถูกต้อง
ตัวชี้วัด : ร้อยละของที่มีความรู้ ความเข้าใจเรื่องโควิด-19 จนสามารถปฏิบัติตัวเพื่อป้องกันโควิด-19 ได้ถูกต้อง
70.00 90.00

 

8 เพื่อให้สถานที่ในชุมชนที่ใช้มาตรการป้องกันโควิด-19 มีเพิ่มขึ้น
ตัวชี้วัด : ร้อยละของสถานที่ในชุมชนที่ใช้มาตรการป้องกันโควิด-19
75.00 95.00

 

9 เพื่อเพิ่มจำนวนจิตอาสาที่สามารถช่วยเหลือคนในชุมชน
ตัวชี้วัด : จำนวนจิตอาสาที่สามารถช่วยเหลือคนในชุมชนเพิ่มขึ้น
60.00 95.00

 

10 เพิ่มการดูแล ป้องกัน คนที่มีความเสี่ยงต่อการเสียชีวิตจากโควิด-19 เช่น ผู้สูงอายุ ผู้ป่วยโรคเรื้อรัง (โรคเบาหวาน โรคความดันโลหิตสูง โรคไต โรคหอบหืดและระบบทางเดินหายใจ)
ตัวชี้วัด : ร้อยละของคนที่มีความเสี่ยงต่อการเสียชีวิตจากโควิด-19 ที่ได้รับการดูแล ป้องกัน เช่น ผู้สูงอายุ ผู้ป่วยโรคเรื้อรัง (โรคเบาหวาน โรคความดันโลหิตสูง โรคไต โรคหอบหืดและระบบทางเดินหายใจ)
10.00 85.00

 

11 เพิ่มการดูแล ป้องกัน คนที่มีความเสี่ยงต่อการเสียชีวิตจากโควิด-19 เช่น ผู้สูงอายุ ผู้ป่วยโรคเรื้อรัง (โรคเบาหวาน โรคความดันโลหิตสูง โรคไต โรคหอบหืดและระบบทางเดินหายใจ)
ตัวชี้วัด : ร้อยละของคนที่มีความเสี่ยงต่อการเสียชีวิตจากโควิด-19 ที่ได้รับการดูแล ป้องกัน เช่น ผู้สูงอายุ ผู้ป่วยโรคเรื้อรัง (โรคเบาหวาน โรคความดันโลหิตสูง โรคไต โรคหอบหืดและระบบทางเดินหายใจ)
10.00 85.00

 

12 เพิ่มการดูแล ป้องกัน คนที่มีความเสี่ยงต่อการเสียชีวิตจากโควิด-19 เช่น ผู้สูงอายุ ผู้ป่วยโรคเรื้อรัง (โรคเบาหวาน โรคความดันโลหิตสูง โรคไต โรคหอบหืดและระบบทางเดินหายใจ)
ตัวชี้วัด : ร้อยละของคนที่มีความเสี่ยงต่อการเสียชีวิตจากโควิด-19 ที่ได้รับการดูแล ป้องกัน เช่น ผู้สูงอายุ ผู้ป่วยโรคเรื้อรัง (โรคเบาหวาน โรคความดันโลหิตสูง โรคไต โรคหอบหืดและระบบทางเดินหายใจ)
10.00 85.00

 

13 เพิ่มจำนวนครัวเรือนที่มีอาหารครบ 5 หมู่ (ผัก ผลไม้ ไขมัน ข้าว แป้ง เนื้อสัตว์) บริโภคอย่างเพียงพอ
ตัวชี้วัด : ร้อยละของครัวเรือนที่มีอาหารครบ 5 หมู่ บริโภคอย่างเพียงพอ เพิ่มขึ้น
30.00 70.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 175
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน 175
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อเพิ่มจำนวนผู้ที่ต้องการลด ละ และเลิกดื่มเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ (2) เพื่อเพิ่มอัตราการเลิกบุหรี่ได้สำเร็จติดต่อกันนานเกิน 6 เดือน โดยไม่กลับไปสูบซ้ำ (3) เพื่อแก้ปัญหาประชาชนทีมีความเสี่ยงเป็นโรคเบาหวาน (4) เพื่อแก้ปัญหาประชาชนที่มีความเสี่ยงเป็นโรคความดันโลหิตสูง (5) เพื่อแก้ปัญหาประชาชนที่มีความเสี่ยงเป็นโรคหลอดเลือดสมอง(CVA) (6) เพื่อแก้ปัญหาผู้ป่วยเบาหวานที่เกิดภาวะแทรกซ้อน เช่น  เบาหวานขึ้นจอประสาทตา แผล ไตวาย (7) เพื่อเพิ่มให้คนในชุมชนที่มีความรู้ ความเข้าใจเรื่องโควิด-19 จนสามารถปฏิบัติตัวเพื่อป้องกันโควิด-19 ได้ถูกต้อง (8) เพื่อให้สถานที่ในชุมชนที่ใช้มาตรการป้องกันโควิด-19 มีเพิ่มขึ้น (9) เพื่อเพิ่มจำนวนจิตอาสาที่สามารถช่วยเหลือคนในชุมชน (10) เพิ่มการดูแล ป้องกัน คนที่มีความเสี่ยงต่อการเสียชีวิตจากโควิด-19 เช่น ผู้สูงอายุ ผู้ป่วยโรคเรื้อรัง (โรคเบาหวาน โรคความดันโลหิตสูง โรคไต โรคหอบหืดและระบบทางเดินหายใจ) (11) เพิ่มการดูแล ป้องกัน คนที่มีความเสี่ยงต่อการเสียชีวิตจากโควิด-19 เช่น ผู้สูงอายุ ผู้ป่วยโรคเรื้อรัง (โรคเบาหวาน โรคความดันโลหิตสูง โรคไต โรคหอบหืดและระบบทางเดินหายใจ) (12) เพิ่มการดูแล ป้องกัน คนที่มีความเสี่ยงต่อการเสียชีวิตจากโควิด-19 เช่น ผู้สูงอายุ ผู้ป่วยโรคเรื้อรัง (โรคเบาหวาน โรคความดันโลหิตสูง โรคไต โรคหอบหืดและระบบทางเดินหายใจ) (13) เพิ่มจำนวนครัวเรือนที่มีอาหารครบ 5 หมู่ (ผัก ผลไม้ ไขมัน ข้าว แป้ง เนื้อสัตว์) บริโภคอย่างเพียงพอ

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) 2.ทำแผนออกปฏิบัติงานเชิงรุกในการดำเนินคัดกรองสุขภาพโรคเบาหวาน/โรคความดันโลหิตสูงประชาชนอายุ 30ปี ขึ้นไป (2) 3.ประสานงานกับหน่วยงานที่เกี่ยวข (3) ขั้นเตรียมการ1.ประชุมชี้แจงโครงการให้กับ อสม และผู้ส่วนเกี่ยวข้องรับทราบนโยบายและวัตถุประสงค์ของโครงการ (4) อบรมกลุ่มเสี่ยงในการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมด้านการออกกำลังกาย การบริโภคอาหาร การจัดการความเครียด การลดการดื่มสุราและการลดเลิกบุหรี่

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการ รวมพลัง อสม ร่วมใจ ขจัด โรคภัยเงียบ ด้วยการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพตำบลยาบหัวนา ในปีงบประมาณ 2563 จังหวัด น่าน

รหัสโครงการ 03

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( จีรนันท์ ศรีมุงคูณและคณะ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด