กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ปากน้ำ


“ โครงการรณรงค์การสร้างเสริมสุขภาพในชุมชน ตำบลปากน้ำ ปีงบประมาณ 2560 ”

ตำบลปากน้ำ อำเภอละงู จังหวัดสตูล

หัวหน้าโครงการ
นายณรงค์ ปากบารา

ชื่อโครงการ โครงการรณรงค์การสร้างเสริมสุขภาพในชุมชน ตำบลปากน้ำ ปีงบประมาณ 2560

ที่อยู่ ตำบลปากน้ำ อำเภอละงู จังหวัดสตูล จังหวัด สตูล

รหัสโครงการ 60-L5312-1-02 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 พฤษภาคม 2560 ถึง 5 มิถุนายน 2560


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการรณรงค์การสร้างเสริมสุขภาพในชุมชน ตำบลปากน้ำ ปีงบประมาณ 2560 จังหวัดสตูล" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลปากน้ำ อำเภอละงู จังหวัดสตูล

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ปากน้ำ ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการรณรงค์การสร้างเสริมสุขภาพในชุมชน ตำบลปากน้ำ ปีงบประมาณ 2560



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการรณรงค์การสร้างเสริมสุขภาพในชุมชน ตำบลปากน้ำ ปีงบประมาณ 2560 " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลปากน้ำ อำเภอละงู จังหวัดสตูล รหัสโครงการ 60-L5312-1-02 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 พฤษภาคม 2560 - 5 มิถุนายน 2560 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 43,400.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ปากน้ำ เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

การมีสุขภาพที่ดีเป็นสิ่งที่ทุกคนต่างก็พึงปรารถนาที่จะมี เป็นปัจจัยหนึ่งที่จะนำความสงบสุขให้กับชีวิต องค์การอนามัยโลก (WHO) ได้ให้คำนิยามคำว่า “สุขภาพ” คือ สุขภาวะที่สมบูรณ์ทางด้านร่างกาย(Physical) จิตใจ(Psycho) จิตวิญญาณ(Spiritual) และสังคม(Social) มิเพียงแต่ปราศจากโรคและความพิการเท่านั้นดังนั้น "สุขภาพ" จึงหมายถึง การมีร่างกายแข็งแรงปราศจากโรคภัยไข้เจ็บในทุกส่วนของร่างกาย มีสุขภาพจิตดี และสามารถปรับตัวให้อยู่ร่วมกับผู้อื่นในสังคมได้อย่างปกติสุข ผู้มีสุขภาพดีถือว่าเป็นกำไรของชีวิต เพราะทำให้ผู้เป็นเจ้าของชีวิตดำรงชีวิตอยู่อย่างเป็นสุขได้ จะเห็นได้ว่า สุขภาพนั้น ไม่ได้มีเพียงทางกาย และทางจิตใจเท่านั้น แต่ยังรวมถึงการปรับตัวเข้าสู่สังคมได้อย่างมีความสุขด้วย เมื่อเป็นเช่นนั้นแล้ว เราก็ควรจะรักษาสุขภาพของเราให้ดีอยู่เสมอ เพื่อที่เราจะได้มีจิตใจที่มีความสุข รื่นเริง ไม่ติดขัด มีเมตตา มีสติ มีสมาธิ และการที่ครอบครัวจะมีความอบอุ่น ชุมชนเข้มแข็ง และสังคมมีความยุติธรรมได้นั้น จะต้องเกิดขึ้นจากการจัดการทางสุขภาพในระดับต่างๆทั้งสุขภาพในระดับของปัจเจกบุคคล (Individual Health) สุขภาพของครอบครัว (Family Health) อนามัยชุมชน (Community Health) และสุขภาพของสาธารณะ (Public Health) ด้วยเช่นกัน จากรายงานสุขภาพคนไทย ปี พ.ศ.2559 ที่เกี่ยวกับพฤติกรรมสุขภาพ พบว่า อายุเฉลี่ยเริ่มสูบบุหรี่ของคนไทยลดลงจาก 18.5 ปี เป็น 17.8 ปี ขณะที่ อายุเริ่มดื่มแอลกอฮอล์มีแนวโน้มดีขึ้น สูงขึ้นจากอายุ 20.2 ปี เป็น 20.8 ปี หากเปรียบเทียบตามกลุ่มอายุ คนไทยรุ่นใหม่ โดยเฉพาะในช่วงอายุ 15-24 ปี เริ่มสูบบุหรี่และดื่มแอลกอฮอล์ ที่อายุเพียง 15-17 ปี เร็วกว่าคนไทยรุ่นก่อนอย่างเห็นได้ชัด จะเห็นได้ว่าคนที่สูบบุหรี่หรือดื่มเครื่องดื่มแอลกอฮอล์นั้นอยู่ในช่วงอายุยังน้อยโดยจะผลต่อสุขภาพด้านต่างๆ ในอนาคต ไม่ว่าจะเป็นโรคไม่ติดต่อที่เกิดจากพฤติกรรม โรคทางด้านจิตใจวิตกกังวล และปัญหาสังคมที่คนดื่มเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ขับรถแล้วประสบอุบัติเหตุชนบุคคลอื่น
สำหรับสถานการณ์ไข้เลือดออกในประเทศไทย ปี 2559 มี จำนวนผู้ป่วยสะสม ณ วันที่ 31 ธ.ค. 2559 พบ ผู้ป่วยจำนวน 63,310 ราย ผู้ป่วยตาย จำนวน 61 ราย อัตราป่วยต่อแสนประชากร 96.76 ราย อัตราตายต่อแสนประชากร 0.09 ราย อัตราป่วยตาย ร้อยละ 0.10 ราย ซึ่งมีอัตราการป่วยลดลงจากปี 2558 แต่อย่างไรก็ตาม สถานการณ์โรคไข้เลือดออก อำเภอละงู ปี 2559 ที่ทำการควบคุมป้องกันโรคทั้งหมด ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2559 มีรายงานผู้ป่วยเพิ่มมากขึ้นในรอบหลายปีที่ผ่านมา ซึ่งมีทั้งหมดจำนวน 1,877 ราย คิดเป็นอัตราป่วย 2,711.17 ต่อประชากรแสนคน มีผู้ป่วยเสียชีวิต 1 ราย อัตราตาย 1.44 ต่อแสน ตำบลปากน้ำ มีการกระจายของโรคไข้เลือดออก ทั้ง 6 หมู่บ้าน จำนวนผู้ป่วยมากที่สุดในเดือนสิงหาคม หมู่บ้านที่มีการระบาดมากที่สุดคือ หมู่ที่ 2 บ้านปากบารา จำนวน 70 ราย ผู้ป่วยส่วนใหญ่เป็นแรงงานต่างชาติ และหมู่ที่ 4 ตะโละใส จำนวน 29 ราย ทั้งนี้การป้องกันโรคไข้เลือดออก ยังคงเป็นสิ่งสำคัญและยังคงต้องทำต่อเนื่องเพื่อให้ประชาชนได้เกิดความตระหนักต่อการป้องกันโรค "กล่องโฟม" ภาชนะบรรจุอาหารที่นิยมใช้ตามท้องตลาดทั่วไป มีสีขาวๆ น้ำหนักเบา และราคาถูก แต่ สิ่งเหล่านี้ ทำมาจากของเสียเหลือทิ้งสีดำๆ จากกระบวนการกลั่นน้ำมันปิโตรเลียม ที่ผ่านกระบวนการผลิตให้ดูน่ากินน่าใช้ บรรจุภัณฑ์ดังกล่าวประกอบด้วยสารสไตรีน (Styrene) ซึ่งผู้ที่ได้รับสารดังกล่าวในปริมาณที่ต่อเนื่อง จะทำให้สมองมึนงง และเสื่อมง่าย หงุดหงิดง่าย ในผู้หญิง จะมีผลทำให้ประจำเดือนมาไม่ปกติ มะเร็งเต้านม ส่วนผู้ชาย จะมีโอกาสเสี่ยงเป็นโรคมะเร็งต่อมลูกหมาก และทั้งชายหญิง จะเสี่ยงต่อมะเร็งตับอีกด้วย อีกทั้งยังมีผลต่อทารกในครรภ์ สำหรับแม่ที่รับประทานอาหารบรรจุในกล่องโฟม ลูกมีโอกาสสมองเสื่อมเป็นเอ๋อ เสี่ยงพิการ

จากประเด็นปัญหาข้างต้น องค์การบริหารส่วนตำบลปากน้ำ มิได้นิ่งนอนใจต่อปัญหาดังกล่าวแต่อย่างใด ซึ่งที่ผ่านมาได้มีการจัดกิจกรรมการรณรงค์ป้องกันมาอย่างต่อเนื่องและใน ปี 2560 องค์การบริหารส่วนตำบลปากน้ำ ได้กำหนดยุทธศาสตร์ด้านการส่งเสริมสุขภาพในประเด็น ปลอดเหล้า ปลอดโฟม ปลอดไข้เลือดออก เพื่อสุขภาพของคนในชุมชน จึงได้จัดโครงการนี้ขึ้นเพื่อสร้างความตระหนักในการดูแลสุขภาพของคนในชุมชนตำบลปากน้ำ

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อเผยแพร่ข้อมูลข่าวสารเรื่องโรคติดต่อและไม่ติดต่อแก่ประชาชน
  2. เพื่อให้ประชาชนกลุ่มเสี่ยงต่อโรคติดต่อและไม่ติดต่อตระหนักต่อปัญหาสุขภาพของตนเอง
  3. เพื่อให้ประชาชนกลุ่มเสี่ยงมีการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมและสิ่งแวดล้อมที่มีผลกระทบต่อสุขภาพ

กิจกรรม/การดำเนินงาน

    กลุ่มเป้าหมาย

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
    กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
    กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
    กลุ่มวัยทำงาน 100
    กลุ่มผู้สูงอายุ
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
    กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
    กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
    กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
    กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
    สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

    ผลที่คาดว่าจะได้รับ

    1. ประชาชนมีความรู้เรื่องโรคติดต่อและไม่ติดต่อ
      1. ประชาชนกลุ่มเสี่ยงต่อโรคติดต่อและไม่ติดต่อตระหนักต่อปัญหาสุขภาพของตนเอง
      2. ประชาชนกลุ่มเสี่ยงมีการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมและสิ่งแวดล้อมที่มีผลกระทบต่อสุขภาพ

    ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

    วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
    ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
    กิจกรรมของโครงการ
    ผลผลิต*
    ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

    * ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
    ** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


    ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

    ผลการดำเนินโครงการ

    สรุปผลการดำเนินโครงการ

    ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
    บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
    บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
    ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

    ผลการดำเนินงาน กิจกรรมอบรม มีผู้เข้าร่วม 100 คน กิจกรรมเดินรณรงค์ ผู้เข้าร่วมกิจกรรม 120 คน

    ผลผลิตโครงการ

    วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
    1 เพื่อเผยแพร่ข้อมูลข่าวสารเรื่องโรคติดต่อและไม่ติดต่อแก่ประชาชน
    ตัวชี้วัด : มีการเผยแพร่ความรู้

     

    2 เพื่อให้ประชาชนกลุ่มเสี่ยงต่อโรคติดต่อและไม่ติดต่อตระหนักต่อปัญหาสุขภาพของตนเอง
    ตัวชี้วัด : ประชาชนตระหนักต่อความสำคัญของโรคติดต่อและไม่ติดต่อ

     

    3 เพื่อให้ประชาชนกลุ่มเสี่ยงมีการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมและสิ่งแวดล้อมที่มีผลกระทบต่อสุขภาพ
    ตัวชี้วัด : ประชาชนสุขภาพดีขึ้น

     

    ผู้เข้าร่วมโครงการ

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 100
    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
    กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
    กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
    กลุ่มวัยทำงาน 100
    กลุ่มผู้สูงอายุ -
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
    กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
    กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
    กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
    กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
    สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

    บทคัดย่อ*

    โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อเผยแพร่ข้อมูลข่าวสารเรื่องโรคติดต่อและไม่ติดต่อแก่ประชาชน (2) เพื่อให้ประชาชนกลุ่มเสี่ยงต่อโรคติดต่อและไม่ติดต่อตระหนักต่อปัญหาสุขภาพของตนเอง (3) เพื่อให้ประชาชนกลุ่มเสี่ยงมีการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมและสิ่งแวดล้อมที่มีผลกระทบต่อสุขภาพ

    ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่

    ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

    หมายเหตุ *

    • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
    • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

    ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

    ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

     

     

     


    โครงการรณรงค์การสร้างเสริมสุขภาพในชุมชน ตำบลปากน้ำ ปีงบประมาณ 2560 จังหวัด สตูล

    รหัสโครงการ 60-L5312-1-02

    ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

    ................................
    ( นายณรงค์ ปากบารา )
    ผู้รับผิดชอบโครงการ
    ......./............/.......

    vertical_align_topไปบนสุด