โครงการใส่ใจสุขภาพห่างไกลโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูงปี 2563
แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์
รายงานฉบับสมบูรณ์
โครงการ
“ โครงการใส่ใจสุขภาพห่างไกลโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูงปี 2563 ”
ตำบลควนรู อำเภอรัตภูมิ จังหวัดสงขลา
หัวหน้าโครงการ
นางอุสนะห์ หมัดศิริ
ได้รับการสนับสนุนโดย กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ควนรู
กันยายน 2563
ชื่อโครงการ โครงการใส่ใจสุขภาพห่างไกลโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูงปี 2563
ที่อยู่ ตำบลควนรู อำเภอรัตภูมิ จังหวัดสงขลา จังหวัด สงขลา
รหัสโครงการ 63-L5231-1-04 เลขที่ข้อตกลง 6/2563
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 ตุลาคม 2562 ถึง 30 กันยายน 2563
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการใส่ใจสุขภาพห่างไกลโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูงปี 2563 จังหวัดสงขลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลควนรู อำเภอรัตภูมิ จังหวัดสงขลา
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ควนรู ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการใส่ใจสุขภาพห่างไกลโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูงปี 2563
บทคัดย่อ
โครงการ " โครงการใส่ใจสุขภาพห่างไกลโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูงปี 2563 " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลควนรู อำเภอรัตภูมิ จังหวัดสงขลา รหัสโครงการ 63-L5231-1-04 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 ตุลาคม 2562 - 30 กันยายน 2563 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 38,050.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ควนรู เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ »
บทคัดย่อ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล »
วัตถุประสงค์โครงการ »
กิจกรรม/การดำเนินงาน »
กลุ่มเป้าหมาย »
ผลลัพธ์ที่ได้ »
การประเมินผล »
ปัญหาและอุปสรรค »
ข้อเสนอแนะ »
เอกสารประกอบอื่นๆ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
สภาพปัจจุบันปัจจัยสำคัญที่ก่อให้เกิดปัญหาสาธารณสุขส่วนใหญ่มีสาเหตุจากประชาชนมีพฤติกรรมสุขภาพที่ไม่เหมาะสม ทั้งในระดับบุคคล ครอบครัว และชุมชนซึ่งได้จากสถานการณ์ของปัญหาสาธารณสุขที่เป็นอยู่ในปัจจุบันที่พบว่ากลุ่มโรค Metabolic โดยเฉพาะโรคอ้วนลงพุง ความดันโลหิตสูง เบาหวาน กำลังเป็นปัญหาสำคัญในทุกพื้นที่ อีกทั้งยังมีแนวโน้มเป็นปัญหาต่อเนื่องในอนาคต ปัจจัยสำคัญที่ก่อให้เกิดปัญหากลุ่มโรค Metabolic ได้แก่ การสูบบุหรี่ การดื่มที่มีเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ การขาดการออกกำลังกาย การรับประทานอาหารที่มีไขมันสูง การรับประทานผักและผลไม้ไม่เพียงพอ ตลอดจนสภาพปัญหาทางจิตใจ อารมณ์ และความเครียดการเสริมสร้างให้ประชาชนมีพฤติกรรมที่ดีสามารถจัดการลดความเสี่ยงของตนเองได้จะเป็นกลไกพื้นฐานที่สำคัญของการป้องกันและควบคุมโรคโดยเฉพาะกลุ่มที่มีความเสี่ยง ซึ่งการสร้างความรู้ ความเข้าใจเพียงอย่างเดียวอาจไม่มีผลเพียงพอที่จะทำให้เกิดความตระหนักในการเปลี่ยนแปลงสุขภาพได้ การจัดกิจกรรมฝึกทักษะและการเสริมสร้างพลังแก่กลุ่มเป้าหมายจึงจำเป็นต้องควบคู่กับการให้ความรู้ ความเข้าใจนำไปสู่การปฏิบัติ นอกจากนี้การสร้างสิ่งแวดล้อมที่เหมาะสมทั้งในครอบครัว และชุมชนก็จะส่งผลให้ประชาชนตระหนักและมีพฤติกรรมที่ดีได้ ดังนั้นจึงสมควรอ่างยิ่งที่จะเร่งการทำงานเชิงรุกในชุมชนเพื่อตรวจคัดกรองโรคความดันโลหิตสูงและเบาหวานในกลุ่มผู้ที่มีอายุ 35 ปีขึ้นไป และให้การวินิจฉัยโรคในระยะเริ่มต้น รวมทั้งการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพเพื่อป้องกันการเกิดโรคและป้องกันภาวะแทรกซ้อนที่อาจเกิดขึ้นได้ต่อไป ซึ่งทาง โรงพยาบาลส่งเสรมสุขภาพตำบลควนรู จัดตั้งคลินิก DPAC ในหน่วยงานเพื่อให้บริการคลินิกผู้ป่วยโรคเรื้อรัง ซึ่งผู้ป่วยโรคเรื้อรังส่วนใหญ่เป็นผู้สูงอายุศักยภาพในการดูแลตนเองไม่เต็มที่เนื่องจากปัจจัยหลาย ๆ อย่าง เพื่อให้ควบคุมโรคได้และลดภาวะแทรกซ้อนที่อาจจะเกิดขึ้นควรมีการส่งเสริมศักยภาพในการดูแลตนเองเพื่อบรรลุวัตถุประสงค์ในการทำให้ประชาชนมีสุขภาพดี โดยทั่วหน้า
ผลจากการดำเนินงานเฝ้าระวังภาวะสุขภาพของประชาชนโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลควนรู ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2562 ที่ผ่านมาจากกลุ่มเป้าหมาย 1,191 ราย พบว่า มีผู้ได้รับการเฝ้าระวังโรคความดันโลหิตสูง จำนวน 907 คิดเป็นร้อยละ 95.70 และผู้ได้รับการเฝ้าระวังโรคเบาหวาน จำนวน 1,050 ผู้มีภาวะเสี่ยงโรคความดันโลหิตสูง จำนวน 23 คน คิดเป็นร้อยละ 2.5 ผู้มีภาวะเสี่ยงสูงโรคเบาหวาน จำนวน 118 คน คิดเป็นร้อยละ 11.2
จากสภาพปัญหาดังกล่าว ทางโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลควนรู ได้เล็งเห็นถึงแนวโน้มที่จะมีผู้ป่วยโรคเรื้อรังรายใหม่เพิ่มขึ้นอีกถ้าหากไม่มีการแก้ปัญหาจากต้นตอที่แท้จริง จึงเกิดโครงการใส่ใจสุขภาพห่างไกลโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูงปี2563 ขึ้น ในประชาชนกลุ่มเสี่ยงทุกกลุ่มอายุ เพื่อเตรียมความพร้อมในการรู้จักการหลีกเลี่ยงพฤติกรรมที่ผิดๆที่เสี่ยงต่อการเกิดโรคในอนาคต ให้มีความรู้และสามารถดุแลตนเองและคนในครอบครัว เกิดพฤติกรรมที่ดีและสามารถลดอัตราการเกิดโรคเรื้อรังเพิ่มได้ในระยะยาว
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- ข้อที่ 1 เพื่อเฝ้าระวังผู้ป่วยและกลุ่มเสี่ยงต่อการเกิดโรคเบาหวาน ความดันโลหิตสูงในพื้นที่ และส่งต่อผู้ป่วยรับการรักษาโดยพบแพทย์ทุกราย
- ข้อที่ 2 เพื่อให้กลุ่มเสี่ยงโรคเบาหวาน ความดันโลหิตสูง มีความรู้ด้านสุขภาพในการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมลดความเสี่ยงต่อการเกิดโรค
- ข้อที่ 3 เพื่อให้กลุ่มเสี่ยงโรคเบาหวาน ความดันโลหิตสูง มีพฤติกรรมในการดูแลสุขภาพ สามารถควบคุมระดับน้ำตาลในเลือด/ความดันโลหิตได้
- ข้อที่ 4 เพื่อลดภาวการณ์ป่วยด้วยโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูง
- ข้อที่ 5 เพื่อให้เกิดกิจกรรมการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมในทุกหมู่บ้าน เช่น กิจกรรมการออกกำลังกาย การรับประทานอาหารเพื่อสุขภาพของคนในหมู่บ้าน การปลูกผักกินเองของคนในหมู่บ้าน ฯลฯ และมีหมู่บ้านต้นแบบอย่างน้อย 1 หมู่บ้าน
กิจกรรม/การดำเนินงาน
- 1. เฝ้าระวังกลุ่มเสี่ยงต่อการเกิดโรคเบาหวาน โรคความดันโลหิตสูง และเฝ้าระวังติดตามผู้ป่วยในพื้นที่อย่างต่อเนื่อง
- 3. จัดกิจกรรมสัญจรการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม - จัดอบรมให้ความรู้แก่กลุ่มเสี่ยงโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูง - ติดตามกลุ่มเสี่ยงทุกราย โดย อสม.ร่วมกับเจ้าหน้าที่ - สุ่มติดตามกลุ่มเสี่ยงเบาหวาน ความดันโลหิตสูง - ส่งพบแพทย์ในกลุ่มที่มี่ภาวะเสี่ยงสูง เกินเกณฑ์ทุ
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
927
กลุ่มผู้สูงอายุ
462
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
402
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
- ประชาชนอายุ 35 ปีขึ้นไป ได้รับการเฝ้าระวังโรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตตามมาตรฐานตามเกณฑ์
- กลุ่มเสี่ยงได้รับการเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพตามหลัก 3 อ. 2 ส. และมีพฤติกรรมสุขภาพที่ถูกต้องเหมาะสมอย่างต่อเนื่อง
- อัตราการเกิดโรคแทรกซ้อนในผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูงและเบาหวานลดลง
- หมู่บ้านเป้าหมายสามารถกำหนดแนวทางการป้องกันและควบคุมโรคMetabolicได้ถูกต้อง เหมาะสมโดยใช้กระบวนการชุมชนเป็นฐาน และหมู่บ้านมีความเข้มแข็ง สามารถสร้างมาตรการดูแลสุขภาพของประชาชนในชุมชนเองได้
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ ผลผลิต* ผลผลิตที่ตั้งไว้ ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ สถานการณ์ เป้าหมาย ผลผลิต อธิบาย
1
ข้อที่ 1 เพื่อเฝ้าระวังผู้ป่วยและกลุ่มเสี่ยงต่อการเกิดโรคเบาหวาน ความดันโลหิตสูงในพื้นที่ และส่งต่อผู้ป่วยรับการรักษาโดยพบแพทย์ทุกราย
ตัวชี้วัด : 1. ผู้ป่วย (ผู้ที่มีค่าระดับน้ำตาลในเลือดและ/ความดันโลหิตสูง อยู่ในโซนสีแดง ของวงจรปิงปอง 7 สี) ร้อยละ 100 ได้รับการการส่งต่อพบแพทย์ทุกราย
0.00
2
ข้อที่ 2 เพื่อให้กลุ่มเสี่ยงโรคเบาหวาน ความดันโลหิตสูง มีความรู้ด้านสุขภาพในการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมลดความเสี่ยงต่อการเกิดโรค
ตัวชี้วัด : 2. กลุ่มเสี่ยงต่อการเกิดโรคเบาหวาน ความดันโลหิตสูง มีความรู้ด้านสุขภาพเพิ่มขึ้น ร้อยละ 90
0.00
3
ข้อที่ 3 เพื่อให้กลุ่มเสี่ยงโรคเบาหวาน ความดันโลหิตสูง มีพฤติกรรมในการดูแลสุขภาพ สามารถควบคุมระดับน้ำตาลในเลือด/ความดันโลหิตได้
ตัวชี้วัด : 3. กลุ่มเสี่ยงที่ได้รับการอบรมความรู้มีการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม และสามารถควบคุมระดับน้ำตาลในเลือด/ความดันโลหิตสูงได้ ร้อยละ 90
0.00
4
ข้อที่ 4 เพื่อลดภาวการณ์ป่วยด้วยโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูง
ตัวชี้วัด : 4. กลุ่มเสี่ยงที่ไม่สามารถควบคุมระดับน้ำตาลในเลือด/ความดันโลหิตสูงได้รับการส่งพบแพทย์ทุกราย ร้อยละ 100
0.00
5
ข้อที่ 5 เพื่อให้เกิดกิจกรรมการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมในทุกหมู่บ้าน เช่น กิจกรรมการออกกำลังกาย การรับประทานอาหารเพื่อสุขภาพของคนในหมู่บ้าน การปลูกผักกินเองของคนในหมู่บ้าน ฯลฯ และมีหมู่บ้านต้นแบบอย่างน้อย 1 หมู่บ้าน
ตัวชี้วัด : 5. ทุกหมู่บ้าน ( 4 หมู่บ้าน ) มีกิจกรรมการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมของคนในชุมชน และมีหมู่บ้านที่ได้รับการคัดเลือกเป็นหมู่บ้านต้นแบบในการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมอย่างน้อย 1 หมู่บ้าน
0.00
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด
1791
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
-
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
-
กลุ่มวัยทำงาน
927
กลุ่มผู้สูงอายุ
462
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
-
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
402
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
-
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
-
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
-
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) ข้อที่ 1 เพื่อเฝ้าระวังผู้ป่วยและกลุ่มเสี่ยงต่อการเกิดโรคเบาหวาน ความดันโลหิตสูงในพื้นที่ และส่งต่อผู้ป่วยรับการรักษาโดยพบแพทย์ทุกราย (2) ข้อที่ 2 เพื่อให้กลุ่มเสี่ยงโรคเบาหวาน ความดันโลหิตสูง มีความรู้ด้านสุขภาพในการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมลดความเสี่ยงต่อการเกิดโรค (3) ข้อที่ 3 เพื่อให้กลุ่มเสี่ยงโรคเบาหวาน ความดันโลหิตสูง มีพฤติกรรมในการดูแลสุขภาพ สามารถควบคุมระดับน้ำตาลในเลือด/ความดันโลหิตได้ (4) ข้อที่ 4 เพื่อลดภาวการณ์ป่วยด้วยโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูง (5) ข้อที่ 5 เพื่อให้เกิดกิจกรรมการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมในทุกหมู่บ้าน เช่น กิจกรรมการออกกำลังกาย การรับประทานอาหารเพื่อสุขภาพของคนในหมู่บ้าน การปลูกผักกินเองของคนในหมู่บ้าน ฯลฯ และมีหมู่บ้านต้นแบบอย่างน้อย 1 หมู่บ้าน
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) 1. เฝ้าระวังกลุ่มเสี่ยงต่อการเกิดโรคเบาหวาน โรคความดันโลหิตสูง และเฝ้าระวังติดตามผู้ป่วยในพื้นที่อย่างต่อเนื่อง (2) 3. จัดกิจกรรมสัญจรการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม - จัดอบรมให้ความรู้แก่กลุ่มเสี่ยงโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูง - ติดตามกลุ่มเสี่ยงทุกราย โดย อสม.ร่วมกับเจ้าหน้าที่ - สุ่มติดตามกลุ่มเสี่ยงเบาหวาน ความดันโลหิตสูง - ส่งพบแพทย์ในกลุ่มที่มี่ภาวะเสี่ยงสูง เกินเกณฑ์ทุ
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *- บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
- หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค สาเหตุ ข้อเสนอแนะ
โครงการใส่ใจสุขภาพห่างไกลโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูงปี 2563 จังหวัด สงขลา
รหัสโครงการ 63-L5231-1-04
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
................................
( นางอุสนะห์ หมัดศิริ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......
โครงการ
“ โครงการใส่ใจสุขภาพห่างไกลโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูงปี 2563 ”
ตำบลควนรู อำเภอรัตภูมิ จังหวัดสงขลา
หัวหน้าโครงการ
นางอุสนะห์ หมัดศิริ
กันยายน 2563
ที่อยู่ ตำบลควนรู อำเภอรัตภูมิ จังหวัดสงขลา จังหวัด สงขลา
รหัสโครงการ 63-L5231-1-04 เลขที่ข้อตกลง 6/2563
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 ตุลาคม 2562 ถึง 30 กันยายน 2563
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการใส่ใจสุขภาพห่างไกลโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูงปี 2563 จังหวัดสงขลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลควนรู อำเภอรัตภูมิ จังหวัดสงขลา
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ควนรู ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการใส่ใจสุขภาพห่างไกลโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูงปี 2563
บทคัดย่อ
โครงการ " โครงการใส่ใจสุขภาพห่างไกลโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูงปี 2563 " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลควนรู อำเภอรัตภูมิ จังหวัดสงขลา รหัสโครงการ 63-L5231-1-04 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 ตุลาคม 2562 - 30 กันยายน 2563 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 38,050.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ควนรู เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ | » |
บทคัดย่อ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล | » |
วัตถุประสงค์โครงการ | » |
กิจกรรม/การดำเนินงาน | » |
กลุ่มเป้าหมาย | » |
ผลลัพธ์ที่ได้ | » |
การประเมินผล | » |
ปัญหาและอุปสรรค | » |
ข้อเสนอแนะ | » |
เอกสารประกอบอื่นๆ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
สภาพปัจจุบันปัจจัยสำคัญที่ก่อให้เกิดปัญหาสาธารณสุขส่วนใหญ่มีสาเหตุจากประชาชนมีพฤติกรรมสุขภาพที่ไม่เหมาะสม ทั้งในระดับบุคคล ครอบครัว และชุมชนซึ่งได้จากสถานการณ์ของปัญหาสาธารณสุขที่เป็นอยู่ในปัจจุบันที่พบว่ากลุ่มโรค Metabolic โดยเฉพาะโรคอ้วนลงพุง ความดันโลหิตสูง เบาหวาน กำลังเป็นปัญหาสำคัญในทุกพื้นที่ อีกทั้งยังมีแนวโน้มเป็นปัญหาต่อเนื่องในอนาคต ปัจจัยสำคัญที่ก่อให้เกิดปัญหากลุ่มโรค Metabolic ได้แก่ การสูบบุหรี่ การดื่มที่มีเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ การขาดการออกกำลังกาย การรับประทานอาหารที่มีไขมันสูง การรับประทานผักและผลไม้ไม่เพียงพอ ตลอดจนสภาพปัญหาทางจิตใจ อารมณ์ และความเครียดการเสริมสร้างให้ประชาชนมีพฤติกรรมที่ดีสามารถจัดการลดความเสี่ยงของตนเองได้จะเป็นกลไกพื้นฐานที่สำคัญของการป้องกันและควบคุมโรคโดยเฉพาะกลุ่มที่มีความเสี่ยง ซึ่งการสร้างความรู้ ความเข้าใจเพียงอย่างเดียวอาจไม่มีผลเพียงพอที่จะทำให้เกิดความตระหนักในการเปลี่ยนแปลงสุขภาพได้ การจัดกิจกรรมฝึกทักษะและการเสริมสร้างพลังแก่กลุ่มเป้าหมายจึงจำเป็นต้องควบคู่กับการให้ความรู้ ความเข้าใจนำไปสู่การปฏิบัติ นอกจากนี้การสร้างสิ่งแวดล้อมที่เหมาะสมทั้งในครอบครัว และชุมชนก็จะส่งผลให้ประชาชนตระหนักและมีพฤติกรรมที่ดีได้ ดังนั้นจึงสมควรอ่างยิ่งที่จะเร่งการทำงานเชิงรุกในชุมชนเพื่อตรวจคัดกรองโรคความดันโลหิตสูงและเบาหวานในกลุ่มผู้ที่มีอายุ 35 ปีขึ้นไป และให้การวินิจฉัยโรคในระยะเริ่มต้น รวมทั้งการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพเพื่อป้องกันการเกิดโรคและป้องกันภาวะแทรกซ้อนที่อาจเกิดขึ้นได้ต่อไป ซึ่งทาง โรงพยาบาลส่งเสรมสุขภาพตำบลควนรู จัดตั้งคลินิก DPAC ในหน่วยงานเพื่อให้บริการคลินิกผู้ป่วยโรคเรื้อรัง ซึ่งผู้ป่วยโรคเรื้อรังส่วนใหญ่เป็นผู้สูงอายุศักยภาพในการดูแลตนเองไม่เต็มที่เนื่องจากปัจจัยหลาย ๆ อย่าง เพื่อให้ควบคุมโรคได้และลดภาวะแทรกซ้อนที่อาจจะเกิดขึ้นควรมีการส่งเสริมศักยภาพในการดูแลตนเองเพื่อบรรลุวัตถุประสงค์ในการทำให้ประชาชนมีสุขภาพดี โดยทั่วหน้า
ผลจากการดำเนินงานเฝ้าระวังภาวะสุขภาพของประชาชนโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลควนรู ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2562 ที่ผ่านมาจากกลุ่มเป้าหมาย 1,191 ราย พบว่า มีผู้ได้รับการเฝ้าระวังโรคความดันโลหิตสูง จำนวน 907 คิดเป็นร้อยละ 95.70 และผู้ได้รับการเฝ้าระวังโรคเบาหวาน จำนวน 1,050 ผู้มีภาวะเสี่ยงโรคความดันโลหิตสูง จำนวน 23 คน คิดเป็นร้อยละ 2.5 ผู้มีภาวะเสี่ยงสูงโรคเบาหวาน จำนวน 118 คน คิดเป็นร้อยละ 11.2
จากสภาพปัญหาดังกล่าว ทางโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลควนรู ได้เล็งเห็นถึงแนวโน้มที่จะมีผู้ป่วยโรคเรื้อรังรายใหม่เพิ่มขึ้นอีกถ้าหากไม่มีการแก้ปัญหาจากต้นตอที่แท้จริง จึงเกิดโครงการใส่ใจสุขภาพห่างไกลโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูงปี2563 ขึ้น ในประชาชนกลุ่มเสี่ยงทุกกลุ่มอายุ เพื่อเตรียมความพร้อมในการรู้จักการหลีกเลี่ยงพฤติกรรมที่ผิดๆที่เสี่ยงต่อการเกิดโรคในอนาคต ให้มีความรู้และสามารถดุแลตนเองและคนในครอบครัว เกิดพฤติกรรมที่ดีและสามารถลดอัตราการเกิดโรคเรื้อรังเพิ่มได้ในระยะยาว
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- ข้อที่ 1 เพื่อเฝ้าระวังผู้ป่วยและกลุ่มเสี่ยงต่อการเกิดโรคเบาหวาน ความดันโลหิตสูงในพื้นที่ และส่งต่อผู้ป่วยรับการรักษาโดยพบแพทย์ทุกราย
- ข้อที่ 2 เพื่อให้กลุ่มเสี่ยงโรคเบาหวาน ความดันโลหิตสูง มีความรู้ด้านสุขภาพในการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมลดความเสี่ยงต่อการเกิดโรค
- ข้อที่ 3 เพื่อให้กลุ่มเสี่ยงโรคเบาหวาน ความดันโลหิตสูง มีพฤติกรรมในการดูแลสุขภาพ สามารถควบคุมระดับน้ำตาลในเลือด/ความดันโลหิตได้
- ข้อที่ 4 เพื่อลดภาวการณ์ป่วยด้วยโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูง
- ข้อที่ 5 เพื่อให้เกิดกิจกรรมการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมในทุกหมู่บ้าน เช่น กิจกรรมการออกกำลังกาย การรับประทานอาหารเพื่อสุขภาพของคนในหมู่บ้าน การปลูกผักกินเองของคนในหมู่บ้าน ฯลฯ และมีหมู่บ้านต้นแบบอย่างน้อย 1 หมู่บ้าน
กิจกรรม/การดำเนินงาน
- 1. เฝ้าระวังกลุ่มเสี่ยงต่อการเกิดโรคเบาหวาน โรคความดันโลหิตสูง และเฝ้าระวังติดตามผู้ป่วยในพื้นที่อย่างต่อเนื่อง
- 3. จัดกิจกรรมสัญจรการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม - จัดอบรมให้ความรู้แก่กลุ่มเสี่ยงโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูง - ติดตามกลุ่มเสี่ยงทุกราย โดย อสม.ร่วมกับเจ้าหน้าที่ - สุ่มติดตามกลุ่มเสี่ยงเบาหวาน ความดันโลหิตสูง - ส่งพบแพทย์ในกลุ่มที่มี่ภาวะเสี่ยงสูง เกินเกณฑ์ทุ
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้ | |
---|---|---|
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | ||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | ||
กลุ่มวัยทำงาน | 927 | |
กลุ่มผู้สูงอายุ | 462 | |
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | ||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | 402 | |
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | ||
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] |
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
- ประชาชนอายุ 35 ปีขึ้นไป ได้รับการเฝ้าระวังโรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตตามมาตรฐานตามเกณฑ์
- กลุ่มเสี่ยงได้รับการเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพตามหลัก 3 อ. 2 ส. และมีพฤติกรรมสุขภาพที่ถูกต้องเหมาะสมอย่างต่อเนื่อง
- อัตราการเกิดโรคแทรกซ้อนในผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูงและเบาหวานลดลง
- หมู่บ้านเป้าหมายสามารถกำหนดแนวทางการป้องกันและควบคุมโรคMetabolicได้ถูกต้อง เหมาะสมโดยใช้กระบวนการชุมชนเป็นฐาน และหมู่บ้านมีความเข้มแข็ง สามารถสร้างมาตรการดูแลสุขภาพของประชาชนในชุมชนเองได้
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้ ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์** กิจกรรมของโครงการ | ผลผลิต* | |
---|---|---|
ผลผลิตที่ตั้งไว้ | ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง |
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ | สถานการณ์ | เป้าหมาย | ผลผลิต | อธิบาย | |
---|---|---|---|---|---|
1 | ข้อที่ 1 เพื่อเฝ้าระวังผู้ป่วยและกลุ่มเสี่ยงต่อการเกิดโรคเบาหวาน ความดันโลหิตสูงในพื้นที่ และส่งต่อผู้ป่วยรับการรักษาโดยพบแพทย์ทุกราย ตัวชี้วัด : 1. ผู้ป่วย (ผู้ที่มีค่าระดับน้ำตาลในเลือดและ/ความดันโลหิตสูง อยู่ในโซนสีแดง ของวงจรปิงปอง 7 สี) ร้อยละ 100 ได้รับการการส่งต่อพบแพทย์ทุกราย |
0.00 |
|
||
2 | ข้อที่ 2 เพื่อให้กลุ่มเสี่ยงโรคเบาหวาน ความดันโลหิตสูง มีความรู้ด้านสุขภาพในการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมลดความเสี่ยงต่อการเกิดโรค ตัวชี้วัด : 2. กลุ่มเสี่ยงต่อการเกิดโรคเบาหวาน ความดันโลหิตสูง มีความรู้ด้านสุขภาพเพิ่มขึ้น ร้อยละ 90 |
0.00 |
|
||
3 | ข้อที่ 3 เพื่อให้กลุ่มเสี่ยงโรคเบาหวาน ความดันโลหิตสูง มีพฤติกรรมในการดูแลสุขภาพ สามารถควบคุมระดับน้ำตาลในเลือด/ความดันโลหิตได้ ตัวชี้วัด : 3. กลุ่มเสี่ยงที่ได้รับการอบรมความรู้มีการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม และสามารถควบคุมระดับน้ำตาลในเลือด/ความดันโลหิตสูงได้ ร้อยละ 90 |
0.00 |
|
||
4 | ข้อที่ 4 เพื่อลดภาวการณ์ป่วยด้วยโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูง ตัวชี้วัด : 4. กลุ่มเสี่ยงที่ไม่สามารถควบคุมระดับน้ำตาลในเลือด/ความดันโลหิตสูงได้รับการส่งพบแพทย์ทุกราย ร้อยละ 100 |
0.00 |
|
||
5 | ข้อที่ 5 เพื่อให้เกิดกิจกรรมการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมในทุกหมู่บ้าน เช่น กิจกรรมการออกกำลังกาย การรับประทานอาหารเพื่อสุขภาพของคนในหมู่บ้าน การปลูกผักกินเองของคนในหมู่บ้าน ฯลฯ และมีหมู่บ้านต้นแบบอย่างน้อย 1 หมู่บ้าน ตัวชี้วัด : 5. ทุกหมู่บ้าน ( 4 หมู่บ้าน ) มีกิจกรรมการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมของคนในชุมชน และมีหมู่บ้านที่ได้รับการคัดเลือกเป็นหมู่บ้านต้นแบบในการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมอย่างน้อย 1 หมู่บ้าน |
0.00 |
|
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
---|---|---|---|
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด | 1791 | ||
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | |||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | - | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | - | ||
กลุ่มวัยทำงาน | 927 | ||
กลุ่มผู้สูงอายุ | 462 | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | |||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | - | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | 402 | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | - | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | - | ||
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] | - |
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) ข้อที่ 1 เพื่อเฝ้าระวังผู้ป่วยและกลุ่มเสี่ยงต่อการเกิดโรคเบาหวาน ความดันโลหิตสูงในพื้นที่ และส่งต่อผู้ป่วยรับการรักษาโดยพบแพทย์ทุกราย (2) ข้อที่ 2 เพื่อให้กลุ่มเสี่ยงโรคเบาหวาน ความดันโลหิตสูง มีความรู้ด้านสุขภาพในการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมลดความเสี่ยงต่อการเกิดโรค (3) ข้อที่ 3 เพื่อให้กลุ่มเสี่ยงโรคเบาหวาน ความดันโลหิตสูง มีพฤติกรรมในการดูแลสุขภาพ สามารถควบคุมระดับน้ำตาลในเลือด/ความดันโลหิตได้ (4) ข้อที่ 4 เพื่อลดภาวการณ์ป่วยด้วยโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูง (5) ข้อที่ 5 เพื่อให้เกิดกิจกรรมการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมในทุกหมู่บ้าน เช่น กิจกรรมการออกกำลังกาย การรับประทานอาหารเพื่อสุขภาพของคนในหมู่บ้าน การปลูกผักกินเองของคนในหมู่บ้าน ฯลฯ และมีหมู่บ้านต้นแบบอย่างน้อย 1 หมู่บ้าน
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) 1. เฝ้าระวังกลุ่มเสี่ยงต่อการเกิดโรคเบาหวาน โรคความดันโลหิตสูง และเฝ้าระวังติดตามผู้ป่วยในพื้นที่อย่างต่อเนื่อง (2) 3. จัดกิจกรรมสัญจรการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม - จัดอบรมให้ความรู้แก่กลุ่มเสี่ยงโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูง - ติดตามกลุ่มเสี่ยงทุกราย โดย อสม.ร่วมกับเจ้าหน้าที่ - สุ่มติดตามกลุ่มเสี่ยงเบาหวาน ความดันโลหิตสูง - ส่งพบแพทย์ในกลุ่มที่มี่ภาวะเสี่ยงสูง เกินเกณฑ์ทุ
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค | สาเหตุ | ข้อเสนอแนะ |
---|---|---|
|
|
|
โครงการใส่ใจสุขภาพห่างไกลโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูงปี 2563 จังหวัด สงขลา
รหัสโครงการ 63-L5231-1-04
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
( นางอุสนะห์ หมัดศิริ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......