กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.เทพา


“ โครงการหนูน้อยสุขภาพดี ประจำปีการศึกษา 2563 ”

ตำบลเทพา อำเภอเทพา จังหวัดสงขลา

หัวหน้าโครงการ
นางสาวสุนีย์ เขตเทพา

ชื่อโครงการ โครงการหนูน้อยสุขภาพดี ประจำปีการศึกษา 2563

ที่อยู่ ตำบลเทพา อำเภอเทพา จังหวัดสงขลา จังหวัด สงขลา

รหัสโครงการ 63-L8287-3-01 เลขที่ข้อตกลง 12/63

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 กรกฎาคม 2563 ถึง 30 กันยายน 2563


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการหนูน้อยสุขภาพดี ประจำปีการศึกษา 2563 จังหวัดสงขลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลเทพา อำเภอเทพา จังหวัดสงขลา

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.เทพา ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการหนูน้อยสุขภาพดี ประจำปีการศึกษา 2563



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการหนูน้อยสุขภาพดี ประจำปีการศึกษา 2563 " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลเทพา อำเภอเทพา จังหวัดสงขลา รหัสโครงการ 63-L8287-3-01 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 กรกฎาคม 2563 - 30 กันยายน 2563 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 67,725.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.เทพา เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

ปัจจุบันเด็กไทยประสบปัญหาเรื่องรูปร่างที่ไม่สมส่วน ทั้งผอม เตี้ย อ้วน และสติปัญญาไม่ทัดเทียมกับประเทศเพื่อนบ้านบางประเทศซึ่งเกิดจากปัญหาโภชนาการที่ไม่ถูกต้อง รับประทานอาหารไม่ครบถ้วน ไม่กินผักผลไม้ เน้นแต่ขนมกรุบกรอบ หากปล่อยทิ้งไว้ เชื่อว่าจะส่งผลต่อคุณภาพชีวิตการเรียนของเด็กเอง ถ้าต้องการให้เด็กไทยมีโภชนาการที่ดี ด้วยการกินอาหารถูกหลักโภชนาการครบ 5 หมู่ ลดขนมกรุบกรอบ และหันมาออกกำลังกาย อาหารถือเป็นสิ่งจำเป็นต่อคนเรา โดยเฉพาะกับเด็กและเยาวชนที่กำลังอยู่ในช่วงของการเจริญเติบโต เพราะมันจะเป็นตัวช่วยพัฒนาสิ่งต่างๆ ในร่างกายของเด็กได้เป็นอย่างดี แต่ในปัจจุบันหลายครัวเรือนกลับมองข้ามเรื่องแบบนี้ จึงส่งผลให้เด็กไทยส่วนใหญ่ อ้วน เตี้ย ไม่สมส่วน นั่นส่งผลไปถึงการพัฒนาสมองของอนาคตของชาติต่อไปอีกด้วย ทุกคนอยากมีสุขภาพดี ไม่เจ็บป่วย ซึ่งการกินอาหารถูกต้อง เหมาะสม และพอเพียงจะทำให้มีโภชนาการดี และนำไปสู่การมีคุณภาพดี ในทางตรงกันข้ามหากกินอาหารที่ไม่มีประโยชน์ ไม่เพียงพอจะทำให้ขาดสารอาหาร หรือถ้ากินอาหารมากเกินไปก็จะทำให้เป็นโรคอ้วน หรือโภชนาการเกิน “โภชนาการ” จึงเป็นเรื่องของการกิน “อาหาร” ที่ร่างกายเรานำ “สารอาหาร” จากอาหารไปใช้ประโยชน์
          การที่จะดำรงชีวิตอยู่ได้อย่างเป็นสุข อาหารและโภชนาการเป็นพื้นฐานที่สำคัญยิ่งต่อสุขภาพ และคุณภาพชีวิตของประชาการในวัยต่างๆ ในวงจรชีวิต มนุษย์ทุกเพศ ทุกวัยทั้ง เด็ก วัยรุ่น ผู้ใหญ่ และผู้สูงอายุ โดยเฉพาะในเด็กวัยก่อนเรียนเป็นวัยที่อยู่ในระยะสำคัญของชีวิต เป็นวัยรากฐานของพัฒนาการการเจริญเติบโตทั้งร่างกาย จิตใจ อารมณ์ สังคม และสติปัญญา จึงเป็นวัยที่มีความสำคัญ เหมาะสมที่สุดในการวางพื้นฐาน เพื่อยกระดับการพัฒนาคุณภาพชีวิต โดยเฉพาะ 2 ปีแรกของชีวิต เป็นระยะที่ร่างกายและสมอง มีการเจริญเติบโตอย่างรวดเร็ว จำเป็นต้องได้รับการเลี้ยงดูที่ดีที่สุด เพื่อส่งเสริมพัฒนาการรอบด้าน อาหารและโภชนาการที่ดี เป็นปัจจัยที่มีความสำคัญต่อการเจริญเติบโตและพัฒนาของเด็กวัยก่อนวัยเรียน ปัญหาทางโภชนาการที่พบบ่อยในเด็กวัยนี้ คือ ภาวการณ์เจริญเติบโตไม่สมวัย จากโรคขาดสารอาหาร ภาวะโภชนาการเกิน การขาดสารไอโอดีน ภาวะโลหิตจางจากการขาดธาตุเหล็ก โดยมีสาเหตุสำคัญจากพฤติกรรมการเลี้ยงดูที่ไม่เหมาะสม การเลี้ยงดูลูกด้วยนมแม่ลดลง การให้อาหารตามวัยแก่เด็กเร็วเกินไปและไม่ถูกต้อง
          ภาวะโภชนาการที่ดีเป็นรากฐานสำคัญของการมีสุขภาพดีตลอดชีวิตโดยเฉพาะในช่วงที่อยู่ในครรภ์มารดาจนถึงวัยรุ่นเนื่องจากการเจริญเติบโตมีทั้งด้านสมองและร่างกาย หากขาดสารอาหารสิ่งที่พบเห็นคือ เด็กตัวเล็ก ผอม เตี้ยซึ่งเป็นการแสดงออกทางด้านร่างกาย แต่ผลที่เกดขึ้นไม่ใช่แค่ทางด้านร่างกายเท่านั้น ยังมีผลต่อการพัฒนาด้านสมองด้วย ทำให้สติปัญญาต่ำ เรียนรู้ช้าไม่สนใจสิ่งแวดล้อม ไม่อยากเรียนรู้สิ่งต่างๆ รอบตัว และเรียนรู้ช้า เป็นผลให้มีพัฒนาการไม่เหมาะสมตามวัย แม้เด็กจะได้รับการกระตุ้นพัฒนาการจะไม่สามารถปรับปรุงให้ดีขึ้นได้หากยังไม่แก้ไขในเรื่องการขาดอาหารในเด็ก ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านพระพุทธ มีหน้าที่ในการเตรียมความพร้อมอบรมเลี้ยงดูเด็กปฐมวัย (อายุ 2-5 ขวบ) และมีการจัดประสบการณ์บนพื้นฐานของการอบรมเลี้ยงดู เพื่อให้เด็กมีพัฒนาการตามวัยอย่างเหมาะสมเต็มตามศักยภาพที่เด็กแต่ละคนมีอยู่และกระตุ้นส่งเสริมให้เด็กมีความพร้อมทั้ง 4 ด้าน (ร่างกาย อารมณ์และจิตใจ สังคม สติปัญญา) อย่างเหมาะสมตามวัย และจากการเฝ้าระวังดูแลตรวจวัดน้ำหนักและส่วนสูงของเด็กศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านพระพุทธ ซึ่งปีการศึกษา 2563 มีเด็กนักเรียนทั้งหมด 122 คน ปรากฏว่ามีเด็กจำนวน 50 คน (โดยประมาณการ) มีน้ำหนักน้อย และส่วนสูงต่ำกว่าเกณฑ์ ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านพระพุทธจึง มีความประสงค์จะจัดทำโครงการหนูน้อยสุขภาพดี ประจำปีการศึกษา 2563 ขึ้น เพื่อเพิ่มมื้ออาหารแก่เด็กน้ำหนักน้อยและส่วนสูงต่ำกว่าเกณฑ์ ภาคเรียนที่ 1/2563

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อลดจำนวนเด็กนักเรียนที่มีภาวะโภชนาการน้ำหนักต่ำกว่าเกณฑ์
  2. เพื่อให้เด็กได้รับประทานผักที่มีประโยชน์และปลอดสารพิษ
  3. เพื่อเพิ่มความรู้ด้านโภชนาการและการบริโภคอาหารที่ถูกต้องให้กับผู้ปกครอง

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. ติดตามภาวะโภชนาการของเด็กภายในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านพระพุทธ
  2. การคืนข้อมูลสถานการณ์ภาวะโภชนาการเด็กและพัฒนาทักษะด้านโภชนาการแก่ผู้ปกครอง
  3. หนูน้อยปลูกผักเพื่อการบริโภคอย่างปลอดภัย
  4. อาหารเสริมและอาหารเช้าเพื่อเด็กศูนย์พัฒนาเด็กเล็กมีสุขภาพดี
  5. คืนข้อมูลให้กับผู้ปกครองสรุปผลการเปลี่ยนแปลงของเด็ก

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน 50
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

  1. 1.เด็กนักเรียนที่มีน้ำหนักน้อย ส่วนสูงต่ำกว่าเกณฑ์ จำนวน 50 คน ได้รับการส่งเสริมอย่างถูกต้องได้รับสารอาหารเพิ่มขึ้น
  2. 2.เด็กที่มีน้ำหนักน้อย ส่วนสูงต่ำกว่าเกณฑ์ จำนวน 50 คน มีร่างกายเจริญเติบโตอย่างสมส่วน สมวัย มีความพร้อมที่จะเรียนรู้อย่างมีคุณภาพต่อไป
  3. ผู้ปกครองได้มีส่วนร่วมในการส่งเสริมสุขภาพเด็ก

ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

1. ติดตามภาวะโภชนาการของเด็กภายในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านพระพุทธ

วันที่ 1 กรกฎาคม 2563

กิจกรรมที่ทำ

ติดตามภาวะโภชนาการของเด็กภายในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านพระพุทธ     ครูประจำชั้น ได้ชั่งน้ำหนัก – วัดส่วนสูงของเด็กทุกเดือน แล้วจดบันทึกข้อมูลพร้อมกับมีการแปรผลสถานการณ์เด็กทุก 3 เดือนจากนั้นก็คืนข้อมูลให้กับผู้ครองเด็กและเจ้าหน้าที่ของโรงพยาบาล คณะกรรมการศูนย์พัฒนาเด็กเล็กและได้เตรียมข้อมูลการรับประทานอาหารเช้าของเด็กโดยการสอบถามจากผู้ปกครอง

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ได้เตรียมข้อมูลการรับประทานอาหารเช้าของเด็กภายในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านพระพุทธ

 

122 0

2. การคืนข้อมูลสถานการณ์ภาวะโภชนาการเด็กและพัฒนาทักษะด้านโภชนาการแก่ผู้ปกครอง

วันที่ 16 กรกฎาคม 2563

กิจกรรมที่ทำ

การคืนข้อมูลสถานการณ์ภาวะโภชนาการเด็กและพัฒนาทักษะด้านโภชนาการแก่ผู้ปกครอง       คืนข้อมูลให้ผู้ปกครองโดยเชิญผู้ปกครองเด็กเฉพาะกลุ่มเป้าหมายทีมีการสำรวจแล้วว่ามีภาวะโภชนาการน้ำหนักต่ำกว่าเกณฑ์ โดยจัดอบรมให้วิทยากรมาให้ความรู้เกี่ยวกับการดูแลส่งเสริมภาวะโภชนาการเด็กที่มีน้ำหนักน้อยกว่าเกณฑ์ โดยนักโภชนาการเพื่อนำเสนอกลยุทธวิธีการการเตรียมอาหารแก่เด็กที่เหมาะสมกับวัย

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ผู้ปกครองเด็ก จำนวน 50 คน ได้มีความรู้เกี่ยวกับการดูแลส่งเสริมภาวะโภชนาการเด็กที่มีน้ำหนักน้อยกว่าเกณฑ์

 

50 0

3. อาหารเสริมและอาหารเช้าเพื่อเด็กศูนย์พัฒนาเด็กเล็กมีสุขภาพดี

วันที่ 17 กรกฎาคม 2563

กิจกรรมที่ทำ

อาหารเสริมและอาหารเช้าเพื่อเด็กศูนย์พัฒนาเด็กเล็กมีสุขภาพดี       จัดอาหารเสริมประเภท เนื้อ นม ไข่ ถั่ว สำหรับเด็กที่มีน้ำหนักย้อยกว่าเกณฑ์ โดยการออกแบบเป็น เมนูอาหารเช้าให้กับเด็ก  เพื่อจะได้ส่งเริมให้เด็กมีภาวะโภชนาการที่ดีขึ้นและติตามผลตลอดระยะเวล

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

เด็กศูนย์พัฒนาเด็กเล็กมีสุขภาพดี

 

50 0

4. หนูน้อยปลูกผักเพื่อการบริโภคอย่างปลอดภัย

วันที่ 17 กรกฎาคม 2563

กิจกรรมที่ทำ

หนูน้อยปลูกผักเพื่อการบริโภคอย่างปลอดภัย     เชิญวิทยากรที่มีความรู้ทางด้านการปลูกผักสวนครัวให้ความรู้พร้อมกับลงแปลงปลูกผักกับเด็กโดยเน้นผักที่สามารถนำมาปรุงอาหารให้เกิดประโยชน์ได้มาก เช่น ผักกาด ผักบุ้ง ผักคะน้า ถั่วฝักยาว แตงกวา มะเขือเทศ

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

หนูน้อยปลูกผักเพื่อการบริโภคอย่างปลอดภัยและได้กินผักปลอดสารพิษ

 

50 0

5. คืนข้อมูลให้กับผู้ปกครองสรุปผลการเปลี่ยนแปลงของเด็ก

วันที่ 30 กันยายน 2563

กิจกรรมที่ทำ

คืนข้อมูลให้กับผู้ปกครองสรุปผลการเปลี่ยนแปลงของเด็ก       นำข้อมูลตลอดระยะเวลาที่ดำเนินโครงการมาสรุปและชี้แจงกับผู้ปกครองถึงการเปลี่ยนแปลงของเด็กพร้อมกับสรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

สรุปผลการเปลี่ยนแปลงของเด็ก

 

50 0

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

การดำเนินโครงการหลังจากได้รับงบประมาณ คือ ดำเนินงานจัดจ้างเหมาประกอบอาหารเช้า(อาหารเสริม) ให้กับกลุ่มเป้าหมาย จำนวน 39 คน จ้างเหมาประกอบอาหารเช้า (อาหารเสริม) ให้กับเด็กกลุ่มเป้าหมาย จำนวน 39 คน ดำเนินการจัดซื้อวัสดุอุปกรณ์สำหรับใช้ใการปลูกผักปลอดสารพิษ จัดกิจกรรมคืนข้อมูลให้ผู้ปกครองโดยเชิญผู้ปกครองเด็กเฉพาะกลุ่มเป้าหมายที่มีการสำรวจแล้วว่ามีภาวะโภชนาการน้ำหนักต่ำกว่าเกณฑ์ โดยจัดอบรมให้วิทยากรมาให้ความรู้เกี่ยวกับการดูแลส่งเสริมภาวะโภชนาการเด็กที่มีน้ำหนักน้อยกว่าเกณฑ์ โดยนักโภชนาการเพื่อนำเสนอกลยุทธวิธีการการเตรียมอาหารแก่เด็กที่เหมาะสมกับวัย ดำเนินการปลูกผักปลอดสารพิษ โดยแยกแปลงผักป็นะดับชั้น และให้ผู้ปกครองเข้ามามีส่วนร่วมในการทำกิจกรรมครั้งนี้ด้วย คืนข้อมูลให้กับผู้ปกครองสรุปผลการเปลี่ยนแปลงของเด็กโดยนำข้อมูลตลอดระยะเวลาที่ดำเนินโครงการมาสรุปและชี้แจงกับผู้ปกครองถึงการเปลี่ยนแปลงของเด็ก

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เพื่อลดจำนวนเด็กนักเรียนที่มีภาวะโภชนาการน้ำหนักต่ำกว่าเกณฑ์
ตัวชี้วัด : ร้อยละ 90 ของเด็กทุกคนจะต้องมีภาวะโภชนาการนำหนักส่วนสูงตามเกณฑ์
90.00 38.50

 

2 เพื่อให้เด็กได้รับประทานผักที่มีประโยชน์และปลอดสารพิษ
ตัวชี้วัด : ร้อยละ 100 ของเด็กได้รับประทานผักที่มีประโยชน์และปลอดสารพิษ
100.00 80.00

 

3 เพื่อเพิ่มความรู้ด้านโภชนาการและการบริโภคอาหารที่ถูกต้องให้กับผู้ปกครอง
ตัวชี้วัด : ร้อยละ 60 ของผู้ปกครองซึ่งเข้าร่วมโครงการและได้รับความรู้ในเรื่องการส่งเสริมพัฒนาการเด็กโภชนาการ และการรับประทานผักที่มีประโยชน์และปลอดสารพิษ
60.00 60.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 50 39
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน 50 39
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อลดจำนวนเด็กนักเรียนที่มีภาวะโภชนาการน้ำหนักต่ำกว่าเกณฑ์ (2) เพื่อให้เด็กได้รับประทานผักที่มีประโยชน์และปลอดสารพิษ (3) เพื่อเพิ่มความรู้ด้านโภชนาการและการบริโภคอาหารที่ถูกต้องให้กับผู้ปกครอง

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) ติดตามภาวะโภชนาการของเด็กภายในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านพระพุทธ (2) การคืนข้อมูลสถานการณ์ภาวะโภชนาการเด็กและพัฒนาทักษะด้านโภชนาการแก่ผู้ปกครอง (3) หนูน้อยปลูกผักเพื่อการบริโภคอย่างปลอดภัย (4) อาหารเสริมและอาหารเช้าเพื่อเด็กศูนย์พัฒนาเด็กเล็กมีสุขภาพดี (5) คืนข้อมูลให้กับผู้ปกครองสรุปผลการเปลี่ยนแปลงของเด็ก

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


ส่วนที่ 3 ประเมินคุณค่าโครงการ

แบบประเมินคุณค่าของโครงการที่เกี่ยวข้องกับการสร้างเสริมสุขภาพ

ชื่อโครงการ โครงการหนูน้อยสุขภาพดี ประจำปีการศึกษา 2563

รหัสโครงการ 63-L8287-3-01 รหัสสัญญา 12/63 ระยะเวลาโครงการ 1 กรกฎาคม 2563 - 30 กันยายน 2563

แบบประเมินคุณค่าของโครงการที่เกี่ยวข้องกับการสร้างเสริมสุขภาพ เป็นการคุณค่าที่เกิดจากโครงการในมิติต่อไปนี้

  • ความรู้ด้านการสร้างเสริมสุขภาพและนวัตกรรมเชิงระบบสุขภาพชุมชน
  • การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมที่มีผลต่อสุขภาวะ
  • การปรับเปลี่ยนสิ่งแวดล้อมที่เอื้อต่อสุขภาวะ
  • ผลกระทบเชิงบวกและนโยบายสาธารณะที่เอื้อต่อการสร้างสุขภาวะชุมชน
  • กระบวนการชุมชน
  • มิติสุขภาวะปัญญา / สุขภาวะทางจิตวิญญาณ

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่

1. เกิดความรู้ หรือ นวัตกรรมชุมชน

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. ความรู้ใหม่ / องค์ความรู้ใหม่

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. สิ่งประดิษฐ์ / ผลผลิตใหม่

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. กระบวนการใหม่

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. วิธีการทำงาน / การจัดการใหม่

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
5. การเกิดกลุ่ม / โครงสร้างในชุมชนใหม่

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
6. แหล่งเรียนรู้ใหม่

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
99. อื่นๆ

 

 

 

2. เกิดการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมที่เอื้อต่อสุขภาพ

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. การดูแลสุขอนามัยส่วนบุคคล

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. การบริโภค

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. การออกกำลังกาย

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. การลด ละ เลิก อบายมุข เช่น การพนัน เหล้า บุหรี่

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
5. การลดพฤติกรรมเสี่ยง เช่น พฤติกรรมเสี่ยงทางเพศ การขับรถโดยประมาท

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
6. การจัดการอารมณ์ / ความเครียด

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
7. การดำรงชีวิต / วิถีชีวิต เช่น การใช้ภูมิปัญญาท้องถิ่น / สมุนไพรในการดูแลสุขภาพตนเอง

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
8. พฤติกรรมการจัดการตนเอง ครอบครัว ชุมชน

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
9. อื่นๆ

 

 

 

3. การสร้างสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อสุขภาพ (กายภาพ สังคม และเศรษฐกิจ)

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. กายภาพ เช่น มีการจัดการขยะ ป่า น้ำ การใช้สารเคมีเกษตร และการสร้างสิ่งแวดล้อมในครัวเรือนที่ถูกสุขลักษณะ

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. สังคม เช่น มีความปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สิน ลดการเกิดอุบัติเหตุ ครอบครัวอบอุ่น การจัดสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อเด็ก เยาวชน และกลุ่มวัยต่าง ๆ มีพื้นที่สาธารณะ/พื้นที่ทางสังคม เพื่อเอื้อต่อการส่งเสริมสุขภาพของคนในชุมชน มีการใช้ศาสนา/วัฒนธรรมเป็นฐานการพัฒนา

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. เศรษฐกิจสร้างสรรค์สังคม /สร้างอาชีพ / เพิ่มรายได้

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. มีการบริการสุขภาพทางเลือก และมีช่องทางการเข้าถึงระบบบริการสุขภาพ

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
5. อื่นๆ

 

 

 

4. การพัฒนานโยบายสาธารณะที่เอื้อต่อสุขภาวะ

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. มีกฎ / กติกา ของกลุ่ม ชุมชน

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. มีมาตรการทางสังคมของกลุ่ม ชุมชน

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. มีธรรมนูญของชุมชน

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. อื่นๆ เช่น ออกเป็นข้อบัญญัติท้องถิ่น ฯลฯ

 

 

 

5. เกิดกระบวนการชุมชน

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. เกิดการเชื่อมโยงประสานงานระหว่างกลุ่ม / เครือข่าย (ใน และหรือนอกชุมชน)

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. การเรียนรู้การแก้ปัญหาชุมชน (การประเมินปัญหา การวางแผน การปฏิบัติการ และการประเมิน)

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. การใช้ประโยชน์จากทุนในชุมชน เช่น การระดมทุน การใช้ทรัพยากรบุคคลในชุมชน

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. มีการขับเคลื่อนการดำเนินงานของกลุ่มและชุมชนที่เกิดจากโครงการอย่างต่อเนื่อง

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
5. เกิดกระบวนการจัดการความรู้ในชุมชน

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
6. เกิดทักษะในการจัดการโครงการ เช่น การใช้ข้อมูลในการตัดสินใจ การทำแผนปฏิบัติการ

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
7. อื่นๆ

 

 

 

6. มิติสุขภาวะปัญญา / สุขภาวะทางจิตวิญญาณ

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. ความรู้สึกภาคภูมิใจในตัวเอง / กลุ่ม / ชุมชน

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. การเห็นประโยชน์ส่วนรวมและส่วนตนอย่างสมดุล

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. การใช้ชีวิตอย่างเรียบง่าย และพอเพียง

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. ชุมชนมีความเอื้ออาทร

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
5. มีการตัดสินใจโดยใช้ฐานปัญญา

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
6. อื่นๆ

 

 

 

โครงการหนูน้อยสุขภาพดี ประจำปีการศึกษา 2563 จังหวัด สงขลา

รหัสโครงการ 63-L8287-3-01

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นางสาวสุนีย์ เขตเทพา )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด