กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์


โครงการ
“ โครงการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพประชาชน ในกลุ่มเสี่ยงโรคความดันโลหิตสูงและกลุ่มโรคเบาหวาน ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2563 ”
ตำบลบาโลย อำเภอยะหริ่ง จังหวัดปัตตานี



หัวหน้าโครงการ
นางนัสรียา สะอุ




ชื่อโครงการ โครงการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพประชาชน ในกลุ่มเสี่ยงโรคความดันโลหิตสูงและกลุ่มโรคเบาหวาน ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2563

ที่อยู่ ตำบลบาโลย อำเภอยะหริ่ง จังหวัดปัตตานี จังหวัด ปัตตานี

รหัสโครงการ 63-L3044-1-4 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 เมษายน 2563 ถึง 30 กันยายน 2563

กิตติกรรมประกาศ

"โครงการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพประชาชน ในกลุ่มเสี่ยงโรคความดันโลหิตสูงและกลุ่มโรคเบาหวาน ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2563 จังหวัดปัตตานี" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลบาโลย อำเภอยะหริ่ง จังหวัดปัตตานี

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.บาโลย ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพประชาชน ในกลุ่มเสี่ยงโรคความดันโลหิตสูงและกลุ่มโรคเบาหวาน ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2563



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพประชาชน ในกลุ่มเสี่ยงโรคความดันโลหิตสูงและกลุ่มโรคเบาหวาน ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2563 " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลบาโลย อำเภอยะหริ่ง จังหวัดปัตตานี รหัสโครงการ 63-L3044-1-4 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 เมษายน 2563 - 30 กันยายน 2563 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 20,200.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.บาโลย เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

องค์การอนามัยโลก(WHO) เล็งเห็นว่ากลุ่มโรค NCDs นั้น ถือเป็นปัญหาใหญ่ที่กำลังทวีความรุนแรงขึ้นเรื่อยๆ  โดย สาเหตุหลักของโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง ส่วนใหญ่ร้อยละ 90 เกิดจากพฤติกรรม อาทิขาดการออกกำลังกาย สูบบุหรี่ กินอาหารไม่เหมาะสม เช่น อาหารหวาน มัน เค็ม กินผักน้อยลง เกิดจากปัจจัยที่ไม่สามารถควบคุมได้ เช่น กรรมพันธุ์ ปัจจุบันยัง พบว่า สาเหตุการตายส่วนใหญ่ของคนไทย เกิดจากโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง มากถึงร้อยละ 60 เช่น เบาหวาน ความดัน โลหิตสูง โรคหัวใจ โรคมะเร็ง ซึ่งเมื่อเจ็บป่วยด้วยโรคดังกล่าวแล้วจำเป็นต้องรับประทานยาตลอดชีวิต(คนไทยกินยาสูงถึงปีละ 47,000 ล้านเม็ด หรือเฉลี่ยวันละ 128 ล้านเม็ด) หรือถ้าหากมีพฤติกรรมสุขภาพที่ไม่เหมาะสมมีโอกาสเสี่ยงต่อการเกิดภาวะแทรกซ้อนตามมา ทำให้สูญเสียค่าใช้จ่ายมากขึ้น
จากผลการตรวจคัดกรองโรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูง ในกลุ่มประชากรอายุ 35 ปีขึ้นไปในเขตรับผิดชอบ ตำบลตันหยงจึงงา อำเภอยะหริ่ง จังหวัดปัตตานี ในปีงบประมาณ 2563 กลุ่มเป้าหมายตรวจคัดกรองโรคเบาหวานจำนวน 758 ราย ได้รับการตรวจคัดกรองโรคเบาหวาน จำนวน 730 ราย คิดเป็นร้อยละ 96.31 ตรวจพบประชาชนกลุ่มเสี่ยง จำนวน 97 ราย คิดเป็นร้อยละ 13.29 และกลุ่มเสี่ยงสูงต่อการป่วยเป็นโรคเบาหวานจำนวน 9 ราย คิดเป็นร้อยละ 1.23 และกลุ่มเป้าหมายตรวจคัดกรองความดันโลหิตสูง จำนวน 651 ราย ได้รับการตรวจคัดกรองจำนวน 622 ราย คิดเป็นร้อยละ 96.16  ตรวจพบประชาชนกลุ่มเสี่ยงโรคความดันโลหิตสูง จำนวน 54 ราย คิดเป็นร้อยละ 8.63 และกลุ่มเสี่ยงสูงต่อการป่วยเป็นโรคความดันโลหิตสูง จำนวน 26 ราย  คิดเป็นร้อยละ 4.15
ดังนั้นเพื่อส่งเสริมให้ประชาชน โดยเฉพาะกลุ่มเสี่ยงสูงและกลุ่มเป็นโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูง มีส่วนร่วมในการดูแลสุขภาพ รวมทั้ง สามารถประเมินและแก้ไขปัญหาภาวะสุขภาพของตนเอง ครอบครัวและชุมชนเพื่อป้องกัน โรคเบาหวานและความดันโลหิตสูง จึงได้จัดทำโครงการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพประชาชนกลุ่มเสี่ยงสูงและกลุ่มเป็นโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูง ตำบลตันหยงจึงงา อำเภอยะหริ่ง ปี 2563 ขึ้น เพื่อลดอัตราป่วยโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูง ในกลุ่มประชากรอายุ 35 ปี ขึ้นไป และลดการเกิดภาวะแทรกซ้อนจากโรคที่อาจจะตามมาภายหลังหากไม่มีการควบคุมที่ดี

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

 

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. ตรวจสุขภาพเบื้องต้น ทำแบบสัมภาษณ์ประชาชนกลุ่มเสี่ยงและกลุ่มเสี่ยงโรคเบาหวาน/ความดันโลหิตสูง เพื่อทดสอบความรู้และประเมินพฤติกรรมสุขภาพก่อนเข้าร่วมโครงการ
  2. ให้ความรู้แกนนำ กลุ่มเสี่ยงสูงและกลุ่มเป็นโรคเบาหวาน/ความดันโลหิตสูง

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง 70
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

7.1 ประชาชนกลุ่มเสี่ยงและกลุ่มเสี่ยงโรคเบาหวาน/ความดันโลหิตสูง มีความรู้และทักษะในการดูแลตนเองเพื่อป้องกันโรค สามารถประเมินและแก้ไขภาวะสุขภาพของตนเอง ครอบครัวและชุมชนได้ 7.2 แกนนำประชาชนกลุ่มเสี่ยงและกลุ่มเสี่ยงโรคเบาหวาน/ความดันโลหิตสูง มีการขยายผลแก่สมาชิกกลุ่มเสี่ยงในชุมชน 7.3 ประชาชนกลุ่มเสี่ยงและกลุ่มเสี่ยงโรคเบาหวาน/ความดันโลหิตสูง ได้แลกเปลี่ยนประสบการณ์การดูแลตนเอง 7.4 ผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูงและโรคเบาหวานรายใหม่ลดลง


ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

1. ให้ความรู้แกนนำ กลุ่มเสี่ยงสูงและกลุ่มเป็นโรคเบาหวาน/ความดันโลหิตสูง

วันที่ 17 กรกฎาคม 2563

กิจกรรมที่ทำ

1.1เพื่อส่งเสริมให้ประชาชนกลุ่มเสี่ยงสูงและกลุ่มเป็นโรคเบาหวาน/ความดันโลหิตสูง มีส่วนร่วมในการดูแลสุขภาพและสามารถพึ่งพาตนเองได้ 1.2เพื่อสร้างแกนนำในการจัดกิจกรรมปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพประชาชนกลุ่ มเสี่ยงและกลุ่มเสี่ยงโรคเบาหวาน/ความดันโลหิตสูงในชุมชน 1.3เพื่อลดผู้ป่วยรายใหม่กลุ่มโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง(ความดันโลหิตสูงและเบาหวาน)

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

-ร้อยละ 93.05 ของกลุ่มเสี่ยงโรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูงมีความรู้ในเรื่องโรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูง -ร้อยละ 90.21 ของกลุ่มเสี่ยงโรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูง มีพฤติกรรมการบริโภคอาหาร, การออกกำลังกายและจัดการความเครียด, ดื่มสุราและบุหรี่ ที่ถูกต้อง -ร้อยละ 0.36 หรือ 368.03/แสนประชากร ของกลุ่มเสี่ยงเบาหวาน ปี 2562 ป่วยเป็นเบาหวาน ปี 2563
-ร้อยละ 0.78 หรือ 788.64/แสนประชากร ของกลุ่มเสี่ยงความดันโลหิต

 

100 0

2. ตรวจสุขภาพเบื้องต้น ทำแบบสัมภาษณ์ประชาชนกลุ่มเสี่ยงและกลุ่มเสี่ยงโรคเบาหวาน/ความดันโลหิตสูง เพื่อทดสอบความรู้และประเมินพฤติกรรมสุขภาพก่อนเข้าร่วมโครงการ

วันที่ 14 ธันวาคม 2563

กิจกรรมที่ทำ

ตรวจสุขภาพ และทำแบบสัมภาษณ์ประชาชนกลุ่มเสี่ยงและกลุ่มเสี่ยงโรคเบาหวาน/ความดันโลหิตสูง  เพื่อทดสอบความรู้และประเมินพฤติกรรมสุขภา

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

-ร้อยละ 93.05 ของกลุ่มเสี่ยงโรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูงมีความรู้ในเรื่องโรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูง -ร้อยละ 90.21 ของกลุ่มเสี่ยงโรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูง มีพฤติกรรมการบริโภคอาหาร, การออกกำลังกายและจัดการความเครียด, ดื่มสุราและบุหรี่ ที่ถูกต้อง -ร้อยละ 0.36 หรือ 368.03/แสนประชากร ของกลุ่มเสี่ยงเบาหวาน ปี 2562 ป่วยเป็นเบาหวาน ปี 2563
-ร้อยละ 0.78 หรือ 788.64/แสนประชากร ของกลุ่มเสี่ยงความดันโลหิต

 

100 0

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 70
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง 70
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) ตรวจสุขภาพเบื้องต้น ทำแบบสัมภาษณ์ประชาชนกลุ่มเสี่ยงและกลุ่มเสี่ยงโรคเบาหวาน/ความดันโลหิตสูง  เพื่อทดสอบความรู้และประเมินพฤติกรรมสุขภาพก่อนเข้าร่วมโครงการ (2) ให้ความรู้แกนนำ กลุ่มเสี่ยงสูงและกลุ่มเป็นโรคเบาหวาน/ความดันโลหิตสูง

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพประชาชน ในกลุ่มเสี่ยงโรคความดันโลหิตสูงและกลุ่มโรคเบาหวาน ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2563 จังหวัด ปัตตานี

รหัสโครงการ 63-L3044-1-4

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นางนัสรียา สะอุ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด