กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

assignment
บันทึกกิจกรรม
กิจกรรมในการแก้ปัญหา smart kid ในชุมชน ใน 4 ด้าน26 มกราคม 2564
26
มกราคม 2564รายงานจากพื้นที่ โดย กองทุนตำบลคอลอตันหยง
circle
กิจกรรมที่ปฎิบัติรายละเอียดของการทำกิจกรรมที่ได้ปฎิบัติจริง

กิจกรรมในการแก้ปัญหา smart kid ในชุมชน ใน 4 ด้าน       กิจกรรมย่อยที่ 2.1 ด้านการสร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรคประชุมติดตามผู้นำชุมชน อสม. และผู้นำศาสนา  ในการสร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรค - ค่าอาหารกลางวัน สำหรับผู้นำชุมชน    อสม. และผู้นำศาสนา 50 บาทx50 คน เป็นเงิน 2,500 บาท
- ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม สำหรับผู้นำชุมชน อสม.และผู้นำศาสนา  25 บาทx50 คน x1  มื้อ 
เป็นเงิน 1,250 บาท

circle
ผลที่เกิดขึ้นจริงผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

1.ร้อยละ90 เด็ก 0–5 ปี ได้รับสร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรค(วัคซีน)ครบตามเกณฑ์ 2.ร้อยละ80 เด็ก 0–5 ปี ได้รับการประเมินและกระตุ้นพัฒนาการที่เหมาะสมตามวัย 3.ร้อยละ90 เด็ก 0–5 ปี ได้รับการประเมินและเฝ้าระวังภาวะโภชนาการ 4.ร้อยละ90 เด็ก 0–5 ปี ได้รับการส่งเสริมสุขภาพในช่องปาก 5.ร้อยละ100 เด็ก 0–5 ปี ที่มีปัญหาด้านสุขภาพได้รับการดูแลและแก้ไข

กิจกรรมที่ 1จัดประชุมให้ความรู้ เด็กsmart kid26 มกราคม 2564
26
มกราคม 2564รายงานจากพื้นที่ โดย กองทุนตำบลคอลอตันหยง
circle
กิจกรรมที่ปฎิบัติรายละเอียดของการทำกิจกรรมที่ได้ปฎิบัติจริง

1.จัดประชุมให้ความรู้ เด็กsmart kid มีกรอบการดำเนินงานดังนี้ 2.1 กิจกรรมคัดกรองและให้ความรู้                     2.1.1 คัดกรองเด็กสุขภาพดี 0-5 ปี                     2.1.2 ให้ความรู้เรื่อง smart kid 4 ด้าน                     - สร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรค             - พัฒนาการเด็ก             - โภชนาการเด็ก                             -  ทันตกรรม 1 กิจกรรมที่ 1จัดประชุมให้ความรู้ เด็กsmart kid - ค่าอาหารกลางวันสำหรับผู้ปกครองหรือผู้แลเด็ก  50 บาท x70 คน      เป็นเงิน 3,500บาท         - ค่าอาหารว่างสำหรับผู้ปกครองหรือผู้แลเด็ก 25 บาทx 50 คน x 2มื้อ    เป็นเงิน 3,500บาท         - ค่าป้ายไวนิลโครงการฯ ขนาด 1 x 2เมตรเป็นเงิน 500 บาท6.2 กิจกรรม

circle
ผลที่เกิดขึ้นจริงผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

1.ร้อยละ90 เด็ก 0–5 ปี ได้รับสร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรค(วัคซีน)ครบตามเกณฑ์ 2.ร้อยละ80 เด็ก 0–5 ปี ได้รับการประเมินและกระตุ้นพัฒนาการที่เหมาะสมตามวัย 3.ร้อยละ90 เด็ก 0–5 ปี ได้รับการประเมินและเฝ้าระวังภาวะโภชนาการ 4.ร้อยละ90 เด็ก 0–5 ปี ได้รับการส่งเสริมสุขภาพในช่องปาก 5.ร้อยละ100 เด็ก 0–5 ปี ที่มีปัญหาด้านสุขภาพได้รับการดูแลและแก้ไข