โรคไม่ติดต่อเรื้อรัง ป้องกันได้?
ชื่อโครงการ | โรคไม่ติดต่อเรื้อรัง ป้องกันได้? |
รหัสโครงการ | 63-L533-02-29 |
ประเภทการสนับสนุน | ประเภท 2 สนับสนุนกิจกรรมสร้างเสริมสุขภาพ การป้องกันโรคของกลุ่มหรือองค์กรประชาชน/หน่วยงานอื่น |
หน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มคน ที่รับผิดชอบโครงการ | หน่วยงานอื่นๆ ที่ไม่ใช่หน่วยงานสาธารณสุข เช่น โรงเรียน |
ชื่อองค์กรที่รับผิดชอบ | โรงเรียนละงูพิทยาคม |
วันที่อนุมัติ | 25 มิถุนายน 2563 |
ระยะเวลาดำเนินโครงการ | 1 กรกฎาคม 2563 - 28 กันยายน 2563 |
กำหนดวันส่งรายงาน | 30 กันยายน 2563 |
งบประมาณ | 36,275.00 บาท |
ผู้รับผิดชอบโครงการ | นางสาวเสาวภา หมาดเน้ง |
พี่เลี้ยงโครงการ | |
พื้นที่ดำเนินการ | ตำบลละงู อำเภอละงู จังหวัดสตูล |
ละติจูด-ลองจิจูด | place |
งวด | วันที่งวดโครงการ | วันที่งวดรายงาน | งบประมาณ (บาท) | |||
---|---|---|---|---|---|---|
จากวันที่ | ถึงวันที่ | จากวันที่ | ถึงวันที่ | |||
1 | 36,275.00 | |||||
รวมงบประมาณ | 36,275.00 |
(ตามแนบท้ายประกาศคณะอนุกรรมการส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรคฯ พ.ศ. 2557)
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวน(คน) | |
---|---|---|
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | 135 | keyboard_arrow_down |
กิจกรรมหลักตามกลุ่มเป้าหมาย กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน : |
||
กลุ่มวัยทำงาน | 35 | keyboard_arrow_down |
กิจกรรมหลักตามกลุ่มเป้าหมาย กลุ่มวัยทำงาน : |
||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ |
สถานการณ์ปัญหา | ขนาด |
---|
ความสำคัญของโครงการ สถานการณ์ หลักการและเหตุผล
Noncommunicable diseases (NCDs) หรือ กลุ่มโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง ซึ่งประกอบไปด้วยโรคหลักคือ โรคหัวใจ และ หลอดเลือด โรคมะเร็ง โรคทางเดินหายใจเรื้อรัง และโรคเบาหวานเป็นสาเหตุของการเสียชีวิตของคน 36 ล้านคน ทั่วโลกในแต่ละปี หรือคิดเป็นสัดส่วนร้อยละ 63 ของสาเหตุการตายทั้งหมด และมากกว่า 14 ล้านคนเป็นผู้ที่เสียชีวิต ในช่วงอายุระหว่าง 30 ถึง 70 ปี หรือเรียกว่าเป็นการเสียชีวิตก่อนวัยอันควร โดยเฉพาะในกลุ่มประเทศที่มีรายได้ต่ำ และ ปานกลาง มีภาระโรคจากการเสียชีวิตก่อนวัยอันควรนี้มากถึงร้อยละ 86 ซึ่งส่งผลกระทบต่อการเจริญเติบโตทาง เศรษฐกิจโรคกลุ่ม NCDs (Non-communicable diseases) คือ โรคที่ไม่ติดต่อ ไม่ว่าจะเป็นการสัมผัส คลุกคลี หรือมีการ สัมผัสกับสารคัดหลั่งต่าง ๆ เพราะโรคของกลุ่มนี้ไม่ได้เกิดจากเชื้อโรค โรคในกลุ่ม NCDs เป็นโรคที่มีความสัมพันธ์กับ นิสัยหรือพฤติกรรมการดำเนินชีวิต การเจริญเติบโตของโรคจะค่อย ๆ สะสมอาการทีละนิด ค่อย ๆ เกิดและค่อย ๆ ทวี ความรุนแรง สุดท้ายจะเกิดอาการเรื้อรังในที่สุด หากไม่ได้รับการรักษาหรือดูแลอย่างถูกต้องและทันเวลา ซึ่งส่งผล กระทบอย่างมากต่อการดำเนินชีวิตของผู้ป่วยและคนรอบข้าง นักเรียนคือกำลังของประเทศในอนาคต และทางโรงเรียนได้มีการชั่งน้ำหนัก วัดส่วนสูง ทุกภาคการศึกษา ผู้จัดทำ โครงการจึงเล็งเห็นความสำคัญในการคัดกรอง ป้องกัน และส่งเสริมพฤติกรรมเชิงบวกในด้านสุขภาพให้แก่นักเรียนใน สถานศึกษา สิ่งที่จะดำเนินการคือคัดกรองให้นักเรียนทราบสถานะสุขภาพ ความเสี่ยงที่จะมีโอกาสเกิดโรคไม่ติดต่อ เรื้อรังในอนาคต สร้างความตระหนักในการดูแลสุขภาพยิ่งขึ้น โดยใช้ข้อมูล น้ำหนัก ส่วนสูงมาเป็นข้อมูลเบื้องต้น ** ข้อมูลจากองค์การอนามัยโลกระบุว่า ตลอดช่วงเวลา 10 ปีที่ผ่านมา กลุ่ม โรคไม่ติดต่อ NCDs เป็นสาเหตุการตาย อันดับหนึ่งของคนไทย โดยมีคนไทยป่วยเป็น โรค NCDs ถึง 14 ล้านคน เสียชีวิตปีละกว่า 300,000 คน และคาดว่ามี แนวโน้มที่จะเพิ่มมากขึ้นในทุกๆ ปี ซึ่งส่วนใหญ่เสียชีวิตก่อนอายุ 60 ปี
วัตถุประสงค์/ตัวชี้วัดความสำเร็จ | ขนาดปัญหา | เป้าหมาย 1 ปี | |
---|---|---|---|
1 | เพื่อสร้างความสนใจ ต่อโรคติดต่อไม่เรื้อรังใน สถานศึกษา จำนวนนักเรียนเข้าร่วมโครงการมากกว่า ร้อยละ 70 ของกลุ่มเป้าหมาย |
0.00 | |
2 | เพื่อสร้างนักเรียนแกนนำด้านสุขภาพในโรงเรียน มีนักเรียนแกนนำสุขภาพทุกห้องเรียน |
0.00 |
hourglass_emptyไม่มีกลุ่มกิจกรรม | กลุ่มเป้าหมาย (คน) |
งบกิจกรรม (บาท) |
ทำแล้ว |
ใช้จ่ายแล้ว (บาท) |
คงเหลือ (บาท) |
||
วันที่ | กิจกรรม | 0 | 36,275.00 | 6 | 36,275.00 | 0.00 | |
25 - 30 มิ.ย. 63 | กิจกรรมจัดทำป้ายโครงการ | 0 | 1,000.00 | ✔ | 450.00 | 550.00 | |
25 - 30 มิ.ย. 63 | กิจกรรมจัดประชุมคณะทำงาน และวางแผนการ ดำเนินงาน (ผู้บริหาร,ครูกลุ่มงานอนามัยโรงเรียน,หัวหน้า ห้องทุกห้องเรียน จำนวน 35 คน) | 0 | 3,500.00 | ✔ | 3,500.00 | 0.00 | |
1 ก.ค. 63 - 30 มิ.ย. 63 | ิจกรรมจัดอบรมเชิงปฎิบัติการ แกนนำสุขภาพ (ผู้ บริหาร,ครูกลุ่มงานอนามัยโรงเรียน,หัวหน้าห้องทุก ห้องเรียน จำนวน 35 คน) | 0 | 6,500.00 | ✔ | 8,050.00 | -1,550.00 | |
1 ก.ค. 63 - 30 มิ.ย. 63 | ิจกรรมคัดกรอง นักเรียน (นักเรียน BMI เกิน หรือ นักเรียนที่สนใจ และคณะทำงาน จำนวน 135 คน) *ขอความอนุเคราะห์เจ้าหน้าที่ รพ.สต.บ้านในเมือง เจาะ น้ำตาลในเลือด | 0 | 5,375.00 | ✔ | 5,825.00 | -450.00 | |
1 ก.ค. 63 - 30 มิ.ย. 63 | ิกิจกรรมให้คำแนะนำ ติดตาม การปรับเปลี่ยนพฤติกรรม สุขภาพ | 0 | 5,000.00 | ✔ | 3,100.00 | 1,900.00 | |
1 ก.ย. 63 - 30 มิ.ย. 63 | ถอดบทเรียน ประเมินผลโครงการ รายงานผลโครงการ (-วิทยากรให้ความรู้ 3 ชม.,กิจกรรมกลุ่ม 3 ชม.,สันทนาการ 1 ชม.) | 0 | 14,900.00 | ✔ | 15,350.00 | -450.00 | |
รวมทั้งสิ้น | 0 | 36,275.00 | 6 | 36,275.00 | 0.00 |
- นักเรียนมีความรู้ ความเข้าใจ และทราบว่าตัวเองเสี่ยงต่อโรคติดต่อไม่เรื้อรังหรือไม่
- สร้างความตระหนักในการใส่ใจสุขภาพของตัวเอง
- กลุ่มนักเรียนที่มีความเสี่ยงสามารถดูแลตัวเองได้
- ในอนาคตลดอัตราการเกิดโรคไม่ติดต่อเรื้อรังของพื้นที่
โครงการเข้าสู่ระบบเมื่อวันที่ 19 มิ.ย. 2563 00:00 น.