กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

stars
1. รายละเอียดโครงการ
ชื่อโครงการ โครงการดูแลสุขภาพผู้สูงอายุตำบลเกาะขนุน
รหัสโครงการ
ประเภทการสนับสนุน ประเภท 3 สนับสนุนการจัดกิจกรรมของ ศูนย์เด็กเล็ก/ผู้สูงอายุ/คนพิการ
หน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มคน ที่รับผิดชอบโครงการ กลุ่มหรือองค์กรประชาชน
ชื่อองค์กรที่รับผิดชอบ ศูนย์พัฒนาและฟื้นฟูคุณภาพชีวิตผู้สูงอายุและคนพิการตำบลเกาะขนุน
วันที่อนุมัติ 17 กันยายน 2562
ระยะเวลาดำเนินโครงการ 1 ตุลาคม 2562 -
กำหนดวันส่งรายงาน 30 กันยายน 2563
งบประมาณ 185,900.00 บาท
ผู้รับผิดชอบโครงการ นางพึงใจ บุตรเพ็ชร
พี่เลี้ยงโครงการ ฝ่ายเลขากองทุนหลักประกันสุขภาพในระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่องค์การบริหารส่วนตำบลเกาะขนุน
พื้นที่ดำเนินการ ตำบลเกาะขนุน อำเภอพนมสารคาม จังหวัดฉะเชิงเทรา
ละติจูด-ลองจิจูด 13.695,101.399place
stars
2. ความสอดคล้องกับแผนงาน
แผนงานกิจกรรมทางกาย
stars
3. งวดสำหรับการทำรายงาน
งวดวันที่งวดโครงการวันที่งวดรายงานงบประมาณ
(บาท)
จากวันที่ถึงวันที่จากวันที่ถึงวันที่
1 1 ต.ค. 2562 30 ก.ย. 2563 135,900.00
2 9 ธ.ค. 2562 30 ก.ย. 2563 50,000.00
รวมงบประมาณ 185,900.00
stars
4. กลุ่มเป้าหมาย

(ตามแนบท้ายประกาศคณะอนุกรรมการส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรคฯ พ.ศ. 2557)

กลุ่มเป้าหมายจำนวน(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มผู้สูงอายุ 377 keyboard_arrow_down

กิจกรรมหลักตามกลุ่มเป้าหมาย กลุ่มผู้สูงอายุ :

กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง 72 keyboard_arrow_down

กิจกรรมหลักตามกลุ่มเป้าหมาย กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง :

stars
5. หลักการและเหตุผล/สถานการณ์
สถานการณ์ปัญหาขนาด
1 ร้อยละของผู้ใหญ่อายุ 18-64 ปี ที่มีกิจกรรมทางกายเพียงพอ (ระดับปานกลางถึงมาก อย่างน้อย 150 นาทีต่อสัปดาห์)
70.00
2 ร้อยละของผู้สูงอายุ 65 ปี ขึ้นไป ที่มีกิจกรรมทางกายเพียงพอ (ระดับปานกลาง อย่างน้อย 150 นาทีต่อสัปดาห์)
70.00

ความสำคัญของโครงการ สถานการณ์ หลักการและเหตุผล

 

stars
6. วัตถุประสงค์/เป้าหมาย
วัตถุประสงค์/ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดปัญหาเป้าหมาย 1 ปี
1 เพิ่มการมีกิจกรรมทางกายที่เพียงพอในผู้ใหญ่

ร้อยละของผู้ใหญ่อายุ 18-64 ปี ที่มีกิจกรรมทางกายเพียงพอ (ระดับปานกลางถึงมาก อย่างน้อยที่สุด 150 นาทีต่อสัปดาห์)

70.00 75.00
2 เพิ่มการมีกิจกรรมทางกายที่เพียงพอในผู้สูงอายุ

ร้อยละของผู้สูงอายุ 65 ปีขึ้นไป ที่มีกิจกรรมทางกายเพียงพอ (ระดับปานกลางอย่างน้อยที่สุด 150 นาทีต่อสัปดาห์)

70.00 76.00
stars
7. การดำเนินงาน/กิจกรรม
hourglass_emptyไม่มีกลุ่มกิจกรรม กลุ่มเป้าหมาย
(คน)
งบกิจกรรม
(บาท)
ทำแล้ว
 
ใช้จ่ายแล้ว
(บาท)
วันที่ กิจกรรม 349 185,900.00 3 185,900.00
1 ต.ค. 62 - 30 ก.ย. 63 ออกกำลังกายในผู้สูงอายุ (ชมรมผู้สูงอายุเกาะขนุน) 127 135,900.00 135,900.00
1 ต.ค. 62 - 30 ก.ย. 63 เพื่อนช่วยเพื่อน 72 0.00 0.00
24 - 25 ธ.ค. 62 ออกกำลังกายในผู้สูงอายุ 150 50,000.00 50,000.00

๑. จัดทำโครงการเพื่อเสนอขออนุมัติงบประมาณจากกองทุนหลักประกันสุขภาพตำบลเกาะขนุน ๒. เผยแพร่ประชาสัมพันธ์โครงการและรับสมัครสมาชิกชมรมผู้สูงอายุเพิ่ม ๓. ประสานงานกับทีมวิทยากรที่เกี่ยวข้อง ๔. จัดอบรมให้ความรู้เรื่องการดูแลสุขภาพผู้สูงอายุ และแลกเปลี่ยนประสบการณ์ แก่ผู้สูงอายุในเรื่องการตรวจฟันผู้สูงอายุ อาหารสำหรับผู้สูงอายุ การใช้ยาสำหรับผู้สูงอายุ การออกกำลังกายสำหรับผู้สูงอายุ การนวดคลายเครียด โรคตาต้อกระจก โรคข้อเข่าเสื่อม และโรคสองเสื่อม และ การป้องกันภาวะแทรกซ้อนจากการเจ็บป่วย ๕. ให้ความรู้เรื่องการตรวจประเมินสุขภาพผู้สูงอายุตามแบบฟอร์มกระทรวงสาธารณสุขตามด้านต่างๆ การลงบันทึกผลการ การใช้สมุดคู่มือการดูแลสุขภาพให้ผู้สูงอายุ พร้อมทั้งคำแนะนำตามคู่มือการดูแลสุขภาพผู้สูงอายุ ๖. ให้แกนนำสุขภาพดำเนินการตรวจคัดกรองสุขภาพผู้สูงอายุในหมู่บ้านทุกหมู่บ้าน ๗. จัดเวทีแลกเปลี่ยนเรียนรู้ด้านสุขภาพและด้าน อื่นๆ เดือนละ ๑ ครั้ง
๘. จัดกิจกรรมเกี่ยวกับการสร้างเสริมสุขภาพ/ กิจกรรมสาธารณประโยชน์ในผู้สูงอายุ ๙. จัดกิจกรรมเยี่ยมให้กำลังใจผู้สูงอายุที่บ้านในกรณีที่ไม่สามารถมาร่วมกิจกรรมได้    หมู่บ้านละ ๑ ครั้ง/เดือน ๑๐. ติดตามผลการตรวจคัดกรองพร้อมทั้งแยกกลุ่มผู้สูงอายุโดยแบ่งเป็น 3 กลุ่ม กลุ่มดี กลุ่มเสี่ยง กลุ่มป่วย พร้อมทำทะเบียนผลการตรวจคัดกรองสุขภาพ ๑๑. เชื่อมโยงเครือข่ายชมรมผู้สูงอายุระดับอำเภอ ๑๒. สรุปและประเมินผลการดำเนินงาน หัวข้อการในอบรม ๑. การดูแลรักษาสุขภาพกายและสุขภาพจิตของผู้สูงอายุ
๒. ๑๐ อ. กับกิจกรรมของผู้สูงอายุ
๓. การดูแลสุขภาพด้วยตนเอง
๔. โภชนาการในผู้สูงอายุ
๕. อยู่อย่างสุขใจวัยสูงอายุ
๖. ออกกำลังกายเหมาะสมวัย
๗. โรคที่พบบ่อยในผู้สูงอายุ

stars
8. ผลที่คาดว่าจะได้รับ
  1. ผู้สูงอายุเข้าร่วมกิจกรรมของกลุ่มอย่างต่อเนื่อง และสามารถนำกระบวนการเรียนรู้ไปประยุกต์ใช้ในชีวิตประจำวันได้อย่างเหมาะสม ส่งผลให้มีสุขภาวะที่ดีตลอดไป
  2. ผู้สูงอายุมีความรู้เรื่องการดูแลสุขภาพตนเองและนำไปปฏิบัติ และเผยแพร่ให้ผู้สูงอายุในชุมชนได้ทราบแนวทางในการดูแลสุขภาพ
stars
9. เอกสารประกอบโครงการ

โครงการเข้าสู่ระบบเมื่อวันที่ 19 มิ.ย. 2563 14:49 น.