กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์


โครงการ
“ โครงการเฝ้าระวังป้องกันโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา2019(COVID-19)โรงเรียนรักเมืองไทย6บ้านโตนงาช้าง(เผียนประชาอุปถัมภ์) ”
ตำบลทุ่งตำเสา อำเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา



หัวหน้าโครงการ
นายสุชาติ นวลเจริญ ผู้อำนวยการโรงเรียนรักเมืองไทย6บ้านโตนงาช้าง(เผียนประชาอุปถัมภ์)




ชื่อโครงการ โครงการเฝ้าระวังป้องกันโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา2019(COVID-19)โรงเรียนรักเมืองไทย6บ้านโตนงาช้าง(เผียนประชาอุปถัมภ์)

ที่อยู่ ตำบลทุ่งตำเสา อำเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา จังหวัด สงขลา

รหัสโครงการ ปี2563-L5275-2-9 เลขที่ข้อตกลง 14/2563

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 มิถุนายน 2563 ถึง 30 กันยายน 2563

กิตติกรรมประกาศ

"โครงการเฝ้าระวังป้องกันโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา2019(COVID-19)โรงเรียนรักเมืองไทย6บ้านโตนงาช้าง(เผียนประชาอุปถัมภ์) จังหวัดสงขลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลทุ่งตำเสา อำเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลเมืองทุ่งตำเสา ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการเฝ้าระวังป้องกันโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา2019(COVID-19)โรงเรียนรักเมืองไทย6บ้านโตนงาช้าง(เผียนประชาอุปถัมภ์)



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการเฝ้าระวังป้องกันโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา2019(COVID-19)โรงเรียนรักเมืองไทย6บ้านโตนงาช้าง(เผียนประชาอุปถัมภ์) " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลทุ่งตำเสา อำเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา รหัสโครงการ ปี2563-L5275-2-9 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 มิถุนายน 2563 - 30 กันยายน 2563 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 49,712.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลเมืองทุ่งตำเสา เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

จากสถานการณ์การระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา ๑๙ (COVID-๑๙) ที่กำลังแพร่ระบาดไปในหลายประเทศทั่วโลก อีกทั้งยังพบรายงานผู้ป่วยทั่วโลก จำนวน ๔,๘๙๑,๓๒๖ คน เสียชีวิตแล้ว จำนวน ๓๒๐,๑๓๔ ราย ในประเทศไทย พบผู้ป่วยยืนยัน จำนวน ๓,๐๓๑ ราย เสียชีวิตแล้ว ๕๖ ราย (ข้อมูลศูนย์บริหารสถานการณ์โควิด ๑๙ (ศบค.) กรมควบคุมโรค กระทรวงสาธารณสุข ณ วันที่ ๑๘ พฤษภาคม ๒๕๖๓) โดยองค์การอนามัยโลกได้ประกาศให้การระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา ๒๐๑๙ (COVID-๑๙) เป็นภาวะฉุกเฉินด้านสาธารณสุขระหว่างประเทศ ส่วนในประเทศไทย กระทรวงสาธารณสุข ได้ประกาศให้โรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา ๒๐๑๙ หรือโรคโควิด ๑๙ (Coronavirus Disease ๒๐๑๙ (COVID -๑๙)) เป็นโรคติดต่ออันตรายตามพระราชบัญญัติโรคติดต่อ พ.ศ. ๒๕๕๘ เพื่อประโยชน์ในการเฝ้าระวัง ป้องกัน และควบคุมโรคติดต่ออันตราย โดยประกาศนี้ให้ใช้บังคับตั้งแต่ วันที่ ๑ มีนาคม ๒๕๖๓ เป็นต้นมา ซึ่งครม.ได้มีมติในคราวประชุมเมื่อวันที่ ๑๗ มีนาคม ๒๕๖๓ เห็นชอบมาตรการเร่งด่วนในการป้องกันวิกฤตการณ์จากโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา ๒๐๑๙ (COVID-๑๙) ข้อ ๒ ยับยั้งการระบาดภายในประเทศ  ข้อ ๒.๔ งดการเรียนการสอนของมหาวิทยาลัย (สถาบันการศึกษา) โรงเรียน โรงเรียนนานาชาติ และสถาบันกวดวิชา หรือปรับวิธีการเรียนการสอนเป็นทางออนไลน์ และให้สถานศึกษาดำเนินการป้องกันโรคตามมาตรการของกระทรวงสาธารณสุขอย่างเคร่งครัด เมื่อสถานศึกษากลับมาเปิดสอนตามปกติ ประกอบกับกระทรวงศึกษาธิการ ได้ออกประกาศ ลงวันที่ ๙ เมษายน ๒๕๖๓ เรื่อง การเปิดเรียนของสถานศึกษาในสังกัดและในกำกับของกระทรวงศึกษาธิการ โดยกำหนดให้เปิดเรียน ในวันที่ ๑ กรกฎาคม พ.ศ. ๒๕๖๓
      โรงเรียนรักเมืองไทย6บ้านโตนงาช้าง(เผียนประชาอุปถัมภ์) เป็นสถานศึกษาที่เปิดทำการสอน ด้วยนักเรียนจำนวนมาก ตั้งแต่ระดับชั้นอนุบาลถึงประถมศึกษาจำนวนทั้งสิ้น 115 คน เพื่อเป็นการป้องกันการแพร่ระบาดของโรคและถือปฏิบัติตามมาตรการหรือแนวทางที่กระทรวงสาธารณสุขกำหนด จึงขอเสนออนุมัติ “โครงการเฝ้าระวังป้องกันโรคไวรัสโคโรนา ๑๙ (COVID-๑๙) โรงเรียนรักเมืองไทย6บ้านโตนงาช้าง(เผียนประชาอุปถัมภ์)” ขึ้น

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อให้บุคลากร ครู และนักเรียน ปฏิบัติตามมาตรการป้องกันโรคไวรัสโคโรนา 19 (COVID-19) ได้ถูกต้อง

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. กิจกรรมประชาสัมพันธ์ให้ความรู้
  2. การเตรียมงาน ๑.๑ แต่งตั้งคณะทำงานป้องกันและควบคุมโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา ๒๐๑๙ (โควิด ๑๙) เพื่อกำหนดมาตรการ และแนวทางของสถานศึกษา
  3. อบรมให้ความรู้ เรื่อง โรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา ๒๐๑๙ (โควิด ๑๙)
  4. กิจกรรมอื่นๆ
  5. กิจกรรมรณรงค์คัดกรอง
  6. กิจกรรมรณรงค์ทำความสะอาดจุดสัมผัสร่วมภายในโรงเรียน “Big Cleaning Day” อย่างน้อยสัปดาห์ละครั้ง

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 168
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

(๑)  บุคลากร ครู และนักเรียนสามารถปฏิบัติตามมาตรการป้องกันโรคไวรัสโคโรนา 19 (COVID-19) ได้ (๒) สามารถป้องกันการแพร่ระบาดของโรคไวรัสโคโรนา 19 (COVID-19) ในโรงเรียนได้


ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เพื่อให้บุคลากร ครู และนักเรียน ปฏิบัติตามมาตรการป้องกันโรคไวรัสโคโรนา 19 (COVID-19) ได้ถูกต้อง
ตัวชี้วัด : - ร้อยละ ๑๐๐ ของบุคลากร ครู และนักเรียนสวมหน้ากากผ้าหรือหน้ากากอนามัยขณะอยู่ในสถานศึกษา - ร้อยละ ๑๐๐ บุคลากร ครู และนักเรียนผ่านจุดคัดกรอง - ร้อยละ ๙๐ สามารถจัดกิจกรรม “Big Cleaning Day”
0.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 168
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 168
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อให้บุคลากร ครู และนักเรียน ปฏิบัติตามมาตรการป้องกันโรคไวรัสโคโรนา 19 (COVID-19) ได้ถูกต้อง

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) กิจกรรมประชาสัมพันธ์ให้ความรู้ (2) การเตรียมงาน ๑.๑ แต่งตั้งคณะทำงานป้องกันและควบคุมโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา ๒๐๑๙ (โควิด ๑๙) เพื่อกำหนดมาตรการ และแนวทางของสถานศึกษา (3) อบรมให้ความรู้ เรื่อง โรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา ๒๐๑๙ (โควิด ๑๙) (4) กิจกรรมอื่นๆ (5) กิจกรรมรณรงค์คัดกรอง (6) กิจกรรมรณรงค์ทำความสะอาดจุดสัมผัสร่วมภายในโรงเรียน “Big Cleaning Day” อย่างน้อยสัปดาห์ละครั้ง

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการเฝ้าระวังป้องกันโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา2019(COVID-19)โรงเรียนรักเมืองไทย6บ้านโตนงาช้าง(เผียนประชาอุปถัมภ์) จังหวัด สงขลา

รหัสโครงการ ปี2563-L5275-2-9

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นายสุชาติ นวลเจริญ ผู้อำนวยการโรงเรียนรักเมืองไทย6บ้านโตนงาช้าง(เผียนประชาอุปถัมภ์) )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด