กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

stars
1. รายละเอียดโครงการ
ชื่อโครงการ โครงการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม 3อ 2ส 1ฟ ลดเสี่ยงลดโรค
รหัสโครงการ 63-L2534-1-14
ประเภทการสนับสนุน ประเภท 1 สนับสนุนการจัดบริการสาธารณสุขของ หน่วยบริการ/สถานบริการ/หน่วยงานสาธารณสุข
หน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มคน ที่รับผิดชอบโครงการ หน่วยบริการหรือสถานบริการสาธารณสุข เช่น รพ.สต.
ชื่อองค์กรที่รับผิดชอบ โรงพยาบาลสุคิริน
วันที่อนุมัติ 18 มิถุนายน 2563
ระยะเวลาดำเนินโครงการ 18 มิถุนายน 2563 - 30 กันยายน 2563
กำหนดวันส่งรายงาน
งบประมาณ 20,890.00 บาท
ผู้รับผิดชอบโครงการ นางจิดาภา น้อยเอียด
พี่เลี้ยงโครงการ
พื้นที่ดำเนินการ ตำบลสุคิริน อำเภอสุคิริน จังหวัดนราธิวาส
ละติจูด-ลองจิจูด place
stars
2. ความสอดคล้องกับแผนงาน
แผนงานโรคเรื้อรัง
stars
3. งวดสำหรับการทำรายงาน
งวดวันที่งวดโครงการวันที่งวดรายงานงบประมาณ
(บาท)
จากวันที่ถึงวันที่จากวันที่ถึงวันที่
1 18 มิ.ย. 2563 30 ก.ย. 2563 20,890.00
รวมงบประมาณ 20,890.00
stars
4. กลุ่มเป้าหมาย

(ตามแนบท้ายประกาศคณะอนุกรรมการส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรคฯ พ.ศ. 2557)

กลุ่มเป้าหมายจำนวน(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 377 keyboard_arrow_down

กิจกรรมหลักตามกลุ่มเป้าหมาย กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง :

stars
5. หลักการและเหตุผล/สถานการณ์
สถานการณ์ปัญหาขนาด

ความสำคัญของโครงการ สถานการณ์ หลักการและเหตุผล

โรคเบาหวานและความดันโลหิตสูง นับเป็นปัญหาการเจ็บป่วยที่สำคัญและนำมาซึ่งความสูญเสียทรัพยากรในการดูแลรักษามีผลกระทบต่อผู้ป่วยเองและผู้ดูแลค่ารักษาพยาบาลค่าใช้จ่ายในครอบครัวมีอาการป่วยเรื้อรังเป็นเวลานานไม่สามารถรักษาให้หายขาดได้นอกจากจะเป็นโรคที่รักษาไม่หายแล้วยังเชื่อมโยงไปสู่โรคแทรกซ้อนอื่น ๆ อีกมากมายเช่นโรคหัวใจและหลอดเลือดโรคไตเรื้อรังสำหรับสาเหตุหลักที่ทำให้เกิดโรคคือ“ กรรมพันธุ์” และ“ สิ่งแวดล้อม” ในส่วนของกรรมพันธุ์นั้นเป็นปัจจัยเสี่ยงที่สำคัญขึ้นเรื่อย ๆ เมื่อมีอายุมากขึ้นขณะที่สิ่งแวดล้อมเป็นปัจจัยเสี่ยงที่เริ่มต้นตั้งแต่ในครรภ์แม่แม้กรรมพันธุ์จะเป็นสิ่งที่แก้ไขไม่ได้ แต่ก็สามารถควบคุมปัจจัยเรื่องอาหารและสิ่งแวดล้อมเพื่อป้องกันโรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูงได้จากผลการวิจัยหลายชิ้นชี้ให้เห็นว่าการควบคุมอาหารอย่างดีรวมไปถึงการออกกำลังกายเป็นประจำนั้นส่งผลโดยตรงต่อการป้องกันโรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูงโดยเฉพาะคนที่มีความเสี่ยงสูงทางกรรมพันธุ์อีกทั้งยังเป็นการควบคุมโรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูงรวมไปถึงป้องกันโรคแทรกซ้อนต่าง ๆ ได้จากข้อมูลอัตราการป่วยด้วยโรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูงในเขตพื้นที่รับผิดชอบโรงพยาบาลสุคิรินอำเภอสุคิรินจังหวัดนราธิวาสปี ๒๕๑๒ ประชากรกลุ่มป่วยความดันทั้งอำเภอจำนวน ๒,๓๗๘ คนกลุ่มป่วยโรคเบาหวาน ๖๘๑ กลุ่มป่วยโรคหัวใจ ๒๗๘ คนกลุ่มหลอดเลือดสมอง ๙๕ คนการรักษาโรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูงโดยการให้ความสำคัญเฉพาะด้านการแพทย์อาจไม่เพียงพอเพื่อการควบคุมโรคที่สมบูรณ์ผู้ป่วยต้องได้รับความรู้เรื่องโรครวมไปถึงความรู้เรื่องโภชนาการและการออกกำลังกายที่ถูกต้องพร้อมทั้งได้รับการกระตุ้นการเปลี่ยนพฤติกรรมผ่านกิจกรรมต่าง ๆ ที่สอดคล้องกับวิถีชุมชนเพื่อปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ

stars
6. วัตถุประสงค์/เป้าหมาย
วัตถุประสงค์/ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดปัญหาเป้าหมาย 1 ปี
1 เพื่อศึกษารูปแบบการดูแลสุขภาพตนเองของกลุ่มเสี่ยงโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูงด้วยกระบวนการ AIC มาประยุกต์ใช้ในการดูแลสุขภาพของตนเองตามหลัก 3อ 2ส 1ฟ

ลดความเสี่ยงโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูงด้วยกระบวนการ AIC มาประยุกต์ใช้ในการดูแลสุขภาพของตนเองตามหลัก 3อ 2ส 1ฟ

80.00
2 เพื่อเปรียบเทียบพฤติกรรมการดูแลสุขภาพตนเองก่อนแลพหลัง ได้รับรูปแบบการดูแลสุขภาพตนเอง สามารถเป็นต้นแบบสู่ชุมชนได้

ได้รับรูปแบบการดูแลสุขภาพตนเอง สามารถเป็นต้นแบบสู่ชุมชนได้

80.00
stars
7. การดำเนินงาน/กิจกรรม
hourglass_emptyไม่มีกลุ่มกิจกรรม กลุ่มเป้าหมาย
(คน)
งบกิจกรรม
(บาท)
ทำแล้ว
 
ใช้จ่ายแล้ว
(บาท)
วันที่ กิจกรรม 0 20,890.00 0 0.00
1 ต.ค. 62 - 30 ก.ย. 63 กิจกรรมอบรมให้ความรู้ 0 20,890.00 -

 

stars
8. ผลที่คาดว่าจะได้รับ
  1. ผู้เข้าร่วมโครงการมีรูปแบบเฉพาะต่อการดูแลสุขภาพตนเองในผู้ป่วยโรคความดันและโรคเบาหวานที่เกิดจากกระบวนการคิดวิเคราะห์จากกลุ่มผู้มีส่วนได้ส่วนเสียในพื้นที่ที่รู้และเข้าใจสภาพปัญหาเพื่อการแก้ปัญหาที่ยั่งยั่ง
  2. ผู้เข้าร่วมโครงการมีส่วนร่วมในการคิดตัดสินใจกำหนดและเลือกวิธีการดูแลสุขภาพร่วมกับกลุ่ม
stars
9. เอกสารประกอบโครงการ

โครงการเข้าสู่ระบบเมื่อวันที่ 15 มิ.ย. 2563 00:00 น.