กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลสุคิริน


“ โครงการป้องกันการตกน้ำ จมน้ำในเด็กนักเรียน ปีงบประมาณ 2563 ”

ตำบลสุคิริน อำเภอสุคิริน จังหวัดนราธิวาส

หัวหน้าโครงการ
นายมัสลาน สีอ่อน

ชื่อโครงการ โครงการป้องกันการตกน้ำ จมน้ำในเด็กนักเรียน ปีงบประมาณ 2563

ที่อยู่ ตำบลสุคิริน อำเภอสุคิริน จังหวัดนราธิวาส จังหวัด นราธิวาส

รหัสโครงการ 63-L2534-1-15 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 18 มิถุนายน 2563 ถึง 30 กันยายน 2563


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการป้องกันการตกน้ำ จมน้ำในเด็กนักเรียน ปีงบประมาณ 2563 จังหวัดนราธิวาส" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลสุคิริน อำเภอสุคิริน จังหวัดนราธิวาส

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลสุคิริน ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการป้องกันการตกน้ำ จมน้ำในเด็กนักเรียน ปีงบประมาณ 2563



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการป้องกันการตกน้ำ จมน้ำในเด็กนักเรียน ปีงบประมาณ 2563 " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลสุคิริน อำเภอสุคิริน จังหวัดนราธิวาส รหัสโครงการ 63-L2534-1-15 ระยะเวลาการดำเนินงาน 18 มิถุนายน 2563 - 30 กันยายน 2563 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 42,375.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลสุคิริน เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

เด็กนักเรียนในวัยเรียนตั้งแต่ระดับอนุบาลถึงระดับมัธยมศึกษาตอนต้น เป็นกลุ่มเสี่ยงที่อาจได้รับอันตรายหรืออันตรายถึงชีวิตจากพฤติกรรมการเล่นน้ำที่ไม่ปลอดภัยของกลุ่มนักเรียนระดับประถมศึกษาถึงมัธยมศึกษาตอนต้น ส่วนเด็กชั้นอนุบาลจะมีความเสี่ยงของการตกน้ำ จมน้ำได้ง่ายกว่าเด็กกลุ่มอื่นๆหากโรงเรียนมีแหล่งน้ำเสี่ยงควรได้รับการแก้ไขทันที จากตัวเลขสถิติการเสียชีวิตที่ไม่น้อย ทำให้ "การจมน้ำ" จึงถูกองค์การอนามัยโลก (WHO) ประกาศเป็นหนึ่งในภัยเร่งด่วนต่อสุขภาพของสาธารณชน โดยในทางปฏิบัติ WHO และประเทศสมาชิกทั่วโลก ต่างพยายามสร้างความตระหนักและส่งเสริมการดำเนินงานขับเคลื่อนที่สอดประสานกันเพื่อป้องกันภัยจากการจมน้ำร่วมกันมาอย่างต่อเนื่อง ในปีหนึ่ง ๆ ทั่วโลก ต้องสูญเสียชีวิตผู้คนไปกว่า 3 แสนคน จากอุบัติเหตุจมน้ำ โดยกว่าร้อยละ 90 ในจำนวนนี้เป็นประชากรในกลุ่มประเทศที่มีรายได้ต่ำและรายได้ปานกลาง ซึ่งครึ่งหนึ่งนั้นยังเป็นเด็กและเยาวชนอนาคตของชาติ โดยเฉพาะเด็กเล็กในวัย 1-4 ปี ถือเป็นวัยที่มีความเสี่ยงมากที่สุด ขณะที่ในประเทศไทย "การจมน้ำ" เป็นสาเหตุการเสียชีวิตก่อนวัยอันควรเป็นอันดับ 1 ในเด็กอายุต่ำกว่า 15 ปี ถือเป็นปัญหาสาธารณสุขที่กระทบต่อคุณภาพ ดังนั้นความรู้ในการป้องกันตนเอง การช่วยฟื้นคืนชีพ รวมทั้งทักษะในการช่วยชีวิต โดยใช้หลักการตะโกน โยน ยื่น พฤติกรรมการป้องกันตนเองจากพื้นที่เสี่ยงต่อการตกน้ำจมน้ำของเด็กอายุต่ำกว่า 15 ปี เป็นสิ่งสำคัญที่ช่วยให้ เด็กมีชีวิตรอดเมื่อเกิดเหตุการณ์ไม่คาดฟันได้ งานสุขศึกษาและพฤติกรรมสุขภาพ ได้เล็งเห็นถึงความสำคัญของปัญหาเพื่อลดการเสียชีวิตของเด็กที่มีอายุต่ำกว่า 15 ปี ในพื้นที่อำเภอสุคิริน จึงได้จัดทำโครงการนี้ขึ้น

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อให้เด็กนักเรียนและเยาวชน ทักษะและการปฏิบัติในหลักการ ตะโกน โยน ยื่น และการช่วยฟื้นคืนชีพ (CPR)
  2. เพื่อให้เด็กนักเรียนระดับชั้นอนุบาลสามารถใช้หลักการ อย่าใกล้ อย่าเก็บ อย่าก้ม ได้
  3. เพื่่อสอนและฝึกหัดให้เด็กนักเรียน และเยาชนสามารถว่ายน้ำเป็น จนเอาชีวิตรอดจากการประสบเหตุทางน้ำ
  4. เพื่อสอนและฝึกหัดให้เด็กนักเรียนและเยาวชนรู้จัก และสามารถช่วยชีวิตผู้ประสบเหตุทางน้ำได้อย่างถูกต้องตามวิธีมาตรฐานสากล

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. กิจกรรมที่ 1 หนูจ๋า รู้ไว้ จะปลอดภัยจากการจมน้ำ อย่าใกล้ อย่าเก็บ อย่าก้ม ตะโกน โยน ยื่น ศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก
  2. กิจกรรมที่ 2 วัคซีนป้องกันเด็กจมน้ำ ในเด็กประถมศึกษาปีที่ 2-3
  3. กิจกรรมที่ 3 อบรมพี่เลี้ยงในเด็กมัธยม (ผู้ก่อการดี) ในการป้องกันและช่วยเหลือคนจมน้ำ
  4. กิจกรรมที่ 4 สำรวจและจดการแหล่งน้ำเสี่ยง

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน 25
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 100
กลุ่มวัยทำงาน 50
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

  1. อำเภอสุคิรินไม่มีผู้เสียชีวิตจากการตกน้ำจมน้ำในพื้นที่เป้าหมายที่ได้รับการติดตั้งอุปกรณ์ช่วยการจมน้ำ
  2. กลุ่มเป้าหมายมีทักษะในการว่ายน้ำ ลอยน้ำ ทักษะการช่วยผู้ประสบเหตุตกน้ำจมน้ำได้
  3. เด็กนักเรียนและเยาวชนที่เข้าร่วมกิจกรรมฝึกสอนว่ายน้ำทุกคน จะสามารถว่ายน้ำเป็นเมื่อจบกิจกรรม
  4. เด็กนักเรียนและเยาวชนที่เข้าร่วมกิจกรรมฝึกสอนว่ายน้ำทุกคน จะมีความรู้และทักษะเบื้องต้นในการช่วยเหลือผู้ประสบเหตุทางน้ำ

ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

เด็กนักเรียนและเยาวชนมีทักษะและการปฎิบัติในหลักการเอาตัวรอดในการป้องกันการตกน้ำจมน้ำ

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เพื่อให้เด็กนักเรียนและเยาวชน ทักษะและการปฏิบัติในหลักการ ตะโกน โยน ยื่น และการช่วยฟื้นคืนชีพ (CPR)
ตัวชี้วัด : เด็กนักเรียนและเยาวชน มีทักษะและการปฏิบัติในหลักการ ตะโกน โยน ยื่น และการช่วยฟื้นคืนชีพ (CPR) ร้อยละ 80
80.00 80.00

 

2 เพื่อให้เด็กนักเรียนระดับชั้นอนุบาลสามารถใช้หลักการ อย่าใกล้ อย่าเก็บ อย่าก้ม ได้
ตัวชี้วัด : เด็กนักเรียนระดับชั้นอนุบาลสามารถใช้หลักการ อย่าใกล้ อย่าเก็บ อย่าก้ม ได้ ร้อยละ 80
80.00 80.00

 

3 เพื่่อสอนและฝึกหัดให้เด็กนักเรียน และเยาชนสามารถว่ายน้ำเป็น จนเอาชีวิตรอดจากการประสบเหตุทางน้ำ
ตัวชี้วัด : เด็กนักเรียน และเยาชนสามารถว่ายน้ำเป็น จนเอาชีวิตรอดจากการประสบเหตุทางน้ำ ร้อยละ 80
80.00 80.00

 

4 เพื่อสอนและฝึกหัดให้เด็กนักเรียนและเยาวชนรู้จัก และสามารถช่วยชีวิตผู้ประสบเหตุทางน้ำได้อย่างถูกต้องตามวิธีมาตรฐานสากล
ตัวชี้วัด : เด็กนักเรียนและเยาวชนรู้จัก และสามารถช่วยชีวิตผู้ประสบเหตุทางน้ำได้อย่างถูกต้องตามวิธีมาตรฐานสากล ร้อยละ 80
80.00 80.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 175 175
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน 25 25
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 100 100
กลุ่มวัยทำงาน 50 50
กลุ่มผู้สูงอายุ 0
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อให้เด็กนักเรียนและเยาวชน ทักษะและการปฏิบัติในหลักการ ตะโกน โยน ยื่น และการช่วยฟื้นคืนชีพ (CPR) (2) เพื่อให้เด็กนักเรียนระดับชั้นอนุบาลสามารถใช้หลักการ อย่าใกล้ อย่าเก็บ อย่าก้ม ได้ (3) เพื่่อสอนและฝึกหัดให้เด็กนักเรียน และเยาชนสามารถว่ายน้ำเป็น จนเอาชีวิตรอดจากการประสบเหตุทางน้ำ (4) เพื่อสอนและฝึกหัดให้เด็กนักเรียนและเยาวชนรู้จัก และสามารถช่วยชีวิตผู้ประสบเหตุทางน้ำได้อย่างถูกต้องตามวิธีมาตรฐานสากล

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) กิจกรรมที่ 1 หนูจ๋า รู้ไว้ จะปลอดภัยจากการจมน้ำ อย่าใกล้ อย่าเก็บ อย่าก้ม ตะโกน โยน ยื่น ศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก (2) กิจกรรมที่ 2 วัคซีนป้องกันเด็กจมน้ำ  ในเด็กประถมศึกษาปีที่ 2-3 (3) กิจกรรมที่ 3 อบรมพี่เลี้ยงในเด็กมัธยม (ผู้ก่อการดี) ในการป้องกันและช่วยเหลือคนจมน้ำ (4) กิจกรรมที่ 4 สำรวจและจดการแหล่งน้ำเสี่ยง

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการป้องกันการตกน้ำ จมน้ำในเด็กนักเรียน ปีงบประมาณ 2563 จังหวัด นราธิวาส

รหัสโครงการ 63-L2534-1-15

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นายมัสลาน สีอ่อน )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด