กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.กาลูปัง


“ โครงการรณรงค์สร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรคในเด็ก 0-5 ปี ตำบลกาลูปัง ประจำปี 2560 ”

ตำบลกาลูปัง อำเภอรามัน จังหวัดยะลา

หัวหน้าโครงการ
โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพประจำตำบลกาลูปัง

ชื่อโครงการ โครงการรณรงค์สร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรคในเด็ก 0-5 ปี ตำบลกาลูปัง ประจำปี 2560

ที่อยู่ ตำบลกาลูปัง อำเภอรามัน จังหวัดยะลา จังหวัด ยะลา

รหัสโครงการ 60-L4155-1-003 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 3 เมษายน 2560 ถึง 30 กันยายน 2560


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการรณรงค์สร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรคในเด็ก 0-5 ปี ตำบลกาลูปัง ประจำปี 2560 จังหวัดยะลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลกาลูปัง อำเภอรามัน จังหวัดยะลา

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.กาลูปัง ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการรณรงค์สร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรคในเด็ก 0-5 ปี ตำบลกาลูปัง ประจำปี 2560



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการรณรงค์สร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรคในเด็ก 0-5 ปี ตำบลกาลูปัง ประจำปี 2560 " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลกาลูปัง อำเภอรามัน จังหวัดยะลา รหัสโครงการ 60-L4155-1-003 ระยะเวลาการดำเนินงาน 3 เมษายน 2560 - 30 กันยายน 2560 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 19,800.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.กาลูปัง เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

การได้รับบริการงานสร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรค เป็นสิทธิพื้นบานของเด็ก เด็กทุกคนควรได้รับวัคซีนขั้นพื้นฐานครบทุกชนิด เพราะโรคติดต่อที่ป้องกันได้ด้วยวัคซีน เป็นสาเหตุหนึ่งที่ทำให้เด็กไทยจำนวนมากต้องเจ็บป่วยหรือพิการหรือันตรายถึงแก่ชีวิตได้ สาเหตุสำคัญเนื่องจากเด็กจำนวนหนึ่งอยู่ในพื้นที่ทุรกันดาร การคมนาคมไม่สะดวก การได้รับข้อมูลข่าสารไม่ทั่วถึง เศรษฐานะ พ่อแม่หรือผู้ปกครองขาดจิตสำนึกในการนำบุตรหลานมารับบริการฉีดวัคซีนป้องกันโรค จากการให้บริการสร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรคในเด็ก 0-5 ปี ในปีพ.ศ. 2559 พบว่าเด็กอายุ 0-1 ปี ได้รับความครอบคลุมในงานสร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรค คิดเป็นร้อยละ 78.57 เด็กอายุ 2 ปี ได้รับความครอบคลุมในงานสร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรค คิดเป็นร้อยละ 75.00 เด็กอายุ 3 ปี ได้รับความครอบคลุมในงานสร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรค คิดเป็นร้อยละ89.29 และเด็กอายุ 5 ปี ได้รับความครอบคลุมในงานสร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรค คิดเป็นร้อยละ 46.15 ตามลำดับ ทางโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลกาลูปัง พบว่าปัญหาการขาดความตระหนักของผู้ปกครองในการพาบุตรหลานมารับบริการสร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรค การลืมนัดวัคซีน ความเชื่อ ปัญหาข่าวลือในเรื่องของอันตรายถึงแก่ชีวิตในเด็กที่รับวัคซีน เป็นปัญหาสำคัญในการที่ผู้ปกครองไม่พาบุตรหลานมารับบริการสร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรค ด้วยเหตุนี้ทางโรงพยาบาลสงเสริมสุขภาพตำบลกาลูปัง ได้เห็นความสำคัญของปัญหาดังกล่าว จึงได้จัดทำโครงการรณรงค์สร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรคในเด็ก 0-5 ปี เพื่อส่งเสริมให้เด็กในพื้นที่มีสุขภาพสมบูรณ์ ปลอดภัยจากโรคที่ป้องกันได้ด้วยวัคซีนและเป็นบันไดสู่ความสำเร็จของการมีสุขภาพดี

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. 1.เด็กอายุ 0-5 ปี ได้รับวัคซีนขั้นพื้นฐานมีความครอบคลุม ไม่ต่ำกว่าร้อยละ 90
  2. 2. อสม.ผู้ปกครองของเด็กอายุ 0-5 ปี ร้อยละ 90 มีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับโรคที่ป้องกันได้ด้วยวัคซีนและตระหนักในการนำบุตรหลานมารับวัคซีนครบตามเกณฑ์ ตลอดจนมีทัศนคติที่ดีต่อการรับวัคซีน
  3. 3.ไม่มีอุบัติการณ์และอัตราป่วยจากโรคที่สามารถป้องกันได้ด้วยวัคซีน

กิจกรรม/การดำเนินงาน

    กลุ่มเป้าหมาย

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
    กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
    กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
    กลุ่มวัยทำงาน
    กลุ่มผู้สูงอายุ
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
    กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
    กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
    กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
    กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
    สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

    ผลที่คาดว่าจะได้รับ

    1. อสม.และผู้ปกครองของเด็กอายุ 0-5 ปี มีความรู้วามเข้าใจเกี่ยวกับโรคที่ป้องกันได้ด้วยวัคซีนและตระหนักในการนำบุตรหลานมารับวัคซีนครบตามเกณฑ์ ตลอดจนมีทัศนคติที่ดีต่อการรับวัคซีน
    2. ผู้ปกครองตระหนักในการนำบุตรหลานมารับบริการวัคซีนตามนัด 3.ไม่มีอุบัติการณ์และอัตราป่วยจากโรคที่สามารถป้องกันได้ด้วยวัคซีน

    ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

    วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
    ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
    กิจกรรมของโครงการ
    ผลผลิต*
    ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

    1. จัดกิจกรรมสร้างแรงจูงใจให้ครอบครัวที่นำเด็กมาฉีดวัคซีนครบตามเกณฑ์ทุกคร้ัง

    วันที่ 18 สิงหาคม 2561

    กิจกรรมที่ทำ

    1. จัดอบรมให้ความรู้แก่กลุ่มเป้าหมายเกี่ยวกับความสำคัญของการรับวัคซีนในเด็ก 0-5 ปี
    2. จัด อสม.ติดตามกลุ่มเป้าหมายคือเด็กในวัย 0-5 ปี ให้ผู้ปกครองเห็นความสำคัญของการฉีดวัคซีน และนำเด็กมาฉีดวัคซีนให้ครบตามเกณฑ์
    3. อสม.หรือเจ้าหน้าที่ลงพื้นที่ เยี่ยมเยียนกลุ่มเป้าหมายที่ไม่เข้าใจความสำคัญของการฉีดวัคซีนในเด็ก 0-5 ปี

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    เด็กวัย 0-5 ปี ในตำบลกาลูปัง ได้รับวัคซีนร้อยละ 90

     

    0 0

    * ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
    ** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


    ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

    ผลการดำเนินโครงการ

    สรุปผลการดำเนินโครงการ

    ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
    บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
    บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
    ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

     

    ผลผลิตโครงการ

    วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
    1 1.เด็กอายุ 0-5 ปี ได้รับวัคซีนขั้นพื้นฐานมีความครอบคลุม ไม่ต่ำกว่าร้อยละ 90
    ตัวชี้วัด : - ความครอบคลุมของการได้รับวัคซีนในเด็ก 0- 5ปีไม่ต่ำกว่าร้อยละ 90

     

    2 2. อสม.ผู้ปกครองของเด็กอายุ 0-5 ปี ร้อยละ 90 มีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับโรคที่ป้องกันได้ด้วยวัคซีนและตระหนักในการนำบุตรหลานมารับวัคซีนครบตามเกณฑ์ ตลอดจนมีทัศนคติที่ดีต่อการรับวัคซีน
    ตัวชี้วัด : ความครอบคลุมของการได้รับวัคซีนในเด็ก 0- 5ปีไม่ต่ำกว่าร้อยละ 90

     

    3 3.ไม่มีอุบัติการณ์และอัตราป่วยจากโรคที่สามารถป้องกันได้ด้วยวัคซีน
    ตัวชี้วัด : ความครอบคลุมของการได้รับวัคซีนในเด็ก 0- 5ปีไม่ต่ำกว่าร้อยละ 90

     

    ผู้เข้าร่วมโครงการ

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 0
    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
    กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
    กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
    กลุ่มวัยทำงาน -
    กลุ่มผู้สูงอายุ -
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
    กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
    กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
    กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
    กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
    สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

    บทคัดย่อ*

    โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) 1.เด็กอายุ 0-5 ปี ได้รับวัคซีนขั้นพื้นฐานมีความครอบคลุม ไม่ต่ำกว่าร้อยละ 90 (2) 2. อสม.ผู้ปกครองของเด็กอายุ 0-5 ปี ร้อยละ 90 มีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับโรคที่ป้องกันได้ด้วยวัคซีนและตระหนักในการนำบุตรหลานมารับวัคซีนครบตามเกณฑ์ ตลอดจนมีทัศนคติที่ดีต่อการรับวัคซีน (3) 3.ไม่มีอุบัติการณ์และอัตราป่วยจากโรคที่สามารถป้องกันได้ด้วยวัคซีน

    ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่

    ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

    หมายเหตุ *

    • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
    • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

    ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

    ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

     

     

     


    โครงการรณรงค์สร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรคในเด็ก 0-5 ปี ตำบลกาลูปัง ประจำปี 2560 จังหวัด ยะลา

    รหัสโครงการ 60-L4155-1-003

    ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

    ................................
    ( โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพประจำตำบลกาลูปัง )
    ผู้รับผิดชอบโครงการ
    ......./............/.......

    vertical_align_topไปบนสุด