กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.กรงปินัง


“ โครงการโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพบ้านลือมุ ยิ้มสดใส ฟันแข็งแรง ประจำปีงบประมาณ 2560 ”

อำเภอกรงปินัง จังหวัดยะลา

หัวหน้าโครงการ
นางรอฮีมะ๊ หะยีสาแล

ชื่อโครงการ โครงการโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพบ้านลือมุ ยิ้มสดใส ฟันแข็งแรง ประจำปีงบประมาณ 2560

ที่อยู่ อำเภอกรงปินัง จังหวัดยะลา จังหวัด ยะลา

รหัสโครงการ 15/2560 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 ตุลาคม 2559 ถึง 30 กันยายน 2560


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพบ้านลือมุ ยิ้มสดใส ฟันแข็งแรง ประจำปีงบประมาณ 2560 จังหวัดยะลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน อำเภอกรงปินัง จังหวัดยะลา

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.กรงปินัง ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพบ้านลือมุ ยิ้มสดใส ฟันแข็งแรง ประจำปีงบประมาณ 2560



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพบ้านลือมุ ยิ้มสดใส ฟันแข็งแรง ประจำปีงบประมาณ 2560 " ดำเนินการในพื้นที่ อำเภอกรงปินัง จังหวัดยะลา รหัสโครงการ 15/2560 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 ตุลาคม 2559 - 30 กันยายน 2560 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 17,750.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.กรงปินัง เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

จากการสำรวจสภาวะสุขภาพช่องปากระดับประเทศพบว่า เด็กอายุ ๑๒ ปี ซึ่งเป็นตัวชี้วัดผลการดำเนินงานในกลุ่มเด็กประถมศึกษามีสภาวะการเกิดโรคฟันผุค่อนข้างคงที่ โดยมีสัดส่วนผู้เป็นโรคฟันผุ ร้อยละ ๕๓.๙ ,๕๗.๓ และ๕๖.๘๗ ค่าเฉลี่ยฟันผุ ผุ อุด ถอน ๑.๕๕ , ๑.๖๔ และ๑.๕๕ซี่ต่อคนในปี๒๕๓๗, ๒๕๔๔ และ ๒๕๕๐ตามลำดับปัจจัยที่ทำให้เด็กกลุ่มนี้มีสภาวะการเกิดโรคฟันผุค่อนข้างคงที่คือการเข้าถึงบริการทันตกรรมป้องกันที่เพิ่มขึ้นอย่างชัดเจน จากการสำรวจสภาวะทันตสุขภาพแห่งชาติ ปี ๒๕๕๐ พบว่า เด็กอายุ ๑๒ ปีได้รับการเคลือบหลุมร่องฟันเพิ่มขึ้นจากร้อยละ๔.๕ใน พ.ศ. ๒๕๔๓-๒๕๔๔ เป็นร้อยละ ๑๒.๗ ซึ่งปัจจัยที่ทำให้การบริการเพิ่มมากขึ้น คือการมีบริการเคลือบหลุมร่องฟันเป็นบริการในชุดสิทธิประโยชน์ทั้งนี้ปัจจัยที่ส่งผลให้เด็กมารับบริการเพิ่มมากขึ้นจากการประชาสัมพันธ์การเคลือบหลุมร่องฟัน ในโครงการยิ้มสดใสเด็กไทยฟันดีซึ่งเป็นผลกระทบที่ทำให้ประชาชนให้ความสนใจในการรับบริการมากขึ้นเนื่องจากโครงการได้สนับสนุนกิจกรรมส่งเสริมทันตสุขภาพในโรงเรียนอย่างเป็นรูปธรรมซึ่งวิธีการป้องกันการเกิดโรคฟันผุในฟันกรามแท้ซี่ที่หนึ่ง คือต้องเริ่มต้นนับตั้งแต่ฟันเริ่มขึ้นมาในช่องปากคือ อายุ ๖ ปี และหากต้องการป้องกันไม่ให้เกิดการผุจะต้องให้บริการเคลือบหลุมร่องฟันตั้งแต่ในกลุ่มนี้(ป. ๑)และฟันซี่นี้จะขึ้นเต็มที่โดยที่อยู่ในแนวการบดเคี้ยวอาหาร (occlusal plane) เมื่อเด็กอายุ ๘ ปี (ชั้น ป. ๓)ซึ่งการติดตามคุณภาพการยึดติดแน่นเป็นการประเมินประสิทธิภาพในการป้องกันโรคได้ในช่วงวัยนี้และจะทำให้สามารถเคลือบหลุมร่องฟันซ้ำในกรณีที่มีการหลุดออกหรือมีแนวโน้มจะเกิดฟันผุในกรณีของเด็กอายุ ๑๒ ปี จะมีฟันกรามแท้ซี่ที่ ๒ ซึ่งเป็นฟันกรามที่ขึ้นถัดจากฟันกรามแท้ซี่ที่ ๑ เข้าไป โดยที่จะเกิดการผุที่ด้านบดเคี้ยวของฟันซี่นี้ในเด็กอายุ ๑๒ ปี เช่นเดียวกับกรณีฟันกรามแท้ซี่ที่ ๑ในเด็ก ป. ๑ การสำรวจพ.ศ. ๒๕๔๙-๕๐ พบว่า ฟันกรามแท้ซี่ที่ ๒ มีการผุไปแล้วร้อยละ ๑๒ แม้ว่าจะเป็นช่วงวัยที่ฟันเริ่มขึ้นก็ตาม การตรวจสุขภาพช่องปากเด็กในชั้น ป. ๑ ป. ๓ และ ป. ๖ เป็นกลุ่มอายุดัชนีที่หากสามารถติดตามเฝ้าระวังและให้บริการทันตกรรมป้องกันด้วยการเคลือบหลุมร่องฟันในฟันกรามทั้ง ๒ ซี่นี้จะทำให้รักษาฟันของเด็กซึ่งยังประโยชน์ในการบดเคี้ยวอาหารตลอดช่วงชีวิต การเคลือบหลุมร่องฟัน(Sealant)พร้อมกันนี้ เพื่อให้เกิดประโยชน์สูงสุดในการป้องกันฟันผุ ฟันที่ได้รับการเคลือบหลุมร่องฟันแล้ว ยังจำเป็นอย่างยิ่งที่จะต้องได้รับการดูแลทำความสะอาดและได้รับฟลูออไรด์อย่างสม่ำเสมอ มาตรการที่เหมาะสม คือ การแปรงฟันด้วยยาสีฟันผสมฟลูออไรด์ ทุกวัน ซึ่งเป็นกระบวนการสร้างสุขนิสัยที่ต้องเริ่มดำเนินการตั้งแต่เด็กวัยก่อนเรียน ซึ่งเป็นช่วงที่ฟันแท้กำลังจะขึ้น ไปจนถึงเด็กวัยประถมศึกษา และสร้างสุขนิสัยในการดูแลรักษาสุขอนามัยส่วนตัวให้แก่เด็ก เป็นการเตรียมความพร้อมให้เจริญเติบโตเป็นผู้ใหญ่ที่มีความรับผิดชอบต่อตนเองในอนาคตและเพื่อให้มีการดำเนินการส่งเสริมทันตสุขภาพช่องปากในโรงเรียนอย่างต่อเนื่อง


จากผลการดำเนินงานโครงการเคลือบหลุมร่องฟันเด็กกลุ่มวัยเรียนประถมศึกษาปีที่ ๑ ปีที่ ๓ ปีที่ ๖ ในปีการศึกษา๒๕๕๗ และ ๒๕๕๘ ของโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านลือมุที่ผ่านมา สรุปว่าเด็กนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ ๖ ในปีการศึกษา๑๕๕๗ มีอัตราฟันผุร้อยละ๖๓.๘ ปีการศึกษา๒๕๕๘ มีอัตราฟันผุร้อยละ๕๙.๐ลดลงจากปีการศึกษา ๒๕๕๗ ร้อยละ 4.8 ซึ่งเป็นแนวโน้มลดลงที่ดีขึ้น
ดังนั้นโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านลือมุจึงได้คิดที่จะกระตุ้นความสนใจของเด็กให้หันมาสนใจและให้ความรู้ทันตอนามัยเรื่องสุขภาพและสุขภาพช่องปากมากขึ้น โดยจัดกิจกรรมเคลือบหลุมร่องฟัน เน้นการมีส่วนร่วม สอดแทรกไปกับความรู้ต่างๆ เพื่อให้เด็กได้รู้สึกว่าเรื่องต่างๆเหล่านี้ไม่ได้ไกลตัวและยากอย่างที่คิดและเพื่อให้เด็กนักเรียนที่เข้าร่วมกิจกรรมสามารถนำความรู้และประสบการณ์ไปเผยแพร่ยังกลุ่มเพื่อนตลอดจนผู้ใกล้ชิดต่อไป

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. ๑ เพื่อลดภาวะฟันแท้ซี่แรกและซี่ที่สองในช่องปากผุไม่เกินร้อยละ ๕๐ ๒ เพื่อให้เด็กสามารถดูแลสุขภาพช่องปากด้วยตัวเองได้

กิจกรรม/การดำเนินงาน

    กลุ่มเป้าหมาย

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
    กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
    กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
    กลุ่มวัยทำงาน
    กลุ่มผู้สูงอายุ
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
    กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
    กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
    กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
    กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
    สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

    ผลที่คาดว่าจะได้รับ

    1. เด็กนักเรียนชั้นประถมศึกษาชั้นปี่ที่ ๑,๓,๖มีความรู้ ทัศนคติและการปฏิบัติตัวประจำวัน ในการดูแลช่องปากของตนเองและสามารถถ่ายทอดความรู้ให้กับผู้อื่นได้
    2. เด็กนักเรียนชั้นประถมศึกษาชั้นปี่ที่ ๑,๓,๖ได้รับบริการทันตกรรมตามความจำเป็น 3.อัตราฟันแท้ซี่แรกและซี่ที่สองผุลดลง

    ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

    วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
    ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
    กิจกรรมของโครงการ
    ผลผลิต*
    ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

    * ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
    ** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


    ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

    ผลการดำเนินโครงการ

    สรุปผลการดำเนินโครงการ

    ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
    บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
    บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
    ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

     

    ผลผลิตโครงการ

    วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
    1 ๑ เพื่อลดภาวะฟันแท้ซี่แรกและซี่ที่สองในช่องปากผุไม่เกินร้อยละ ๕๐ ๒ เพื่อให้เด็กสามารถดูแลสุขภาพช่องปากด้วยตัวเองได้
    ตัวชี้วัด : ๓ เพื่อให้เด็กมีสุขภาพที่ดีตามพัฒนาการที่สมวัย

     

    ผู้เข้าร่วมโครงการ

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 0
    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
    กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
    กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
    กลุ่มวัยทำงาน -
    กลุ่มผู้สูงอายุ -
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
    กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
    กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
    กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
    กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
    สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

    บทคัดย่อ*

    โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) ๑ เพื่อลดภาวะฟันแท้ซี่แรกและซี่ที่สองในช่องปากผุไม่เกินร้อยละ ๕๐ ๒ เพื่อให้เด็กสามารถดูแลสุขภาพช่องปากด้วยตัวเองได้

    ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่

    ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

    หมายเหตุ *

    • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
    • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

    ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

    ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

     

     

     


    โครงการโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพบ้านลือมุ ยิ้มสดใส ฟันแข็งแรง ประจำปีงบประมาณ 2560 จังหวัด ยะลา

    รหัสโครงการ 15/2560

    ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

    ................................
    ( นางรอฮีมะ๊ หะยีสาแล )
    ผู้รับผิดชอบโครงการ
    ......./............/.......

    vertical_align_topไปบนสุด