โครงการอบรมเชิงปฏิบัติการเรื่องภาวะโภชนาการในเด็กก่อนวัยเรียน
แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์
รายงานฉบับสมบูรณ์
โครงการ
“ โครงการอบรมเชิงปฏิบัติการเรื่องภาวะโภชนาการในเด็กก่อนวัยเรียน ”
อำเภอเมืองสงขลา จังหวัดสงขลา
หัวหน้าโครงการ
(นางสาวตรีทิพย์ เครือหลี) ตำแหน่ง พยาบาลวิชาชีพชำนาญการ
ได้รับการสนับสนุนโดย กองทุนหลักประกันสุขภาพ เทศบาลนครสงขลา
ธันวาคม 2563
ชื่อโครงการ โครงการอบรมเชิงปฏิบัติการเรื่องภาวะโภชนาการในเด็กก่อนวัยเรียน
ที่อยู่ อำเภอเมืองสงขลา จังหวัดสงขลา จังหวัด สงขลา
รหัสโครงการ 63-L7250-3-01 เลขที่ข้อตกลง
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 กรกฎาคม 2563 ถึง 31 ธันวาคม 2563
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการอบรมเชิงปฏิบัติการเรื่องภาวะโภชนาการในเด็กก่อนวัยเรียน จังหวัดสงขลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน อำเภอเมืองสงขลา จังหวัดสงขลา
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนหลักประกันสุขภาพ เทศบาลนครสงขลา ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการอบรมเชิงปฏิบัติการเรื่องภาวะโภชนาการในเด็กก่อนวัยเรียน
บทคัดย่อ
โครงการ " โครงการอบรมเชิงปฏิบัติการเรื่องภาวะโภชนาการในเด็กก่อนวัยเรียน " ดำเนินการในพื้นที่ อำเภอเมืองสงขลา จังหวัดสงขลา รหัสโครงการ 63-L7250-3-01 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 กรกฎาคม 2563 - 31 ธันวาคม 2563 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 48,900.00 บาท จาก กองทุนหลักประกันสุขภาพ เทศบาลนครสงขลา เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ »
บทคัดย่อ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล »
วัตถุประสงค์โครงการ »
กิจกรรม/การดำเนินงาน »
กลุ่มเป้าหมาย »
ผลลัพธ์ที่ได้ »
การประเมินผล »
ปัญหาและอุปสรรค »
ข้อเสนอแนะ »
เอกสารประกอบอื่นๆ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
ปัญหาภาวะโภชนาการในศตวรรษที่ 21 ของประเทศที่กำลังพัฒนารวมทั้งประเทศไทย มีความสอดคล้องกัน คือ การมีภาวะโภชนาทุพโภชนาการ โดยมีปัญหาโภชนาการต่ำกว่าเกณฑ์ในพื้นที่ยากจนหรือท้องที่ห่างไกลและปัญหาภาวะโภชนาการเกินที่มีจำนวนเพิ่มขึ้นอย่างรวดเร็วในสังคมเมือง โดยเฉพาะปัญหาโภชนาการเกินที่มีแนวโน้มเพิ่มสูงขึ้นมาก และมักกลายเป็นโรคอ้วน ซึ่งส่งผลกระทบให้เกิดโรคเรื้อรังตามมาได้ ซึ่งเป็นการบั่นทอนคุณภาพของทรัพยากรมนุษย์ของประเทศในอนาคต (นพร, 2556)
ช่วงวัยก่อนเรียนเป็นช่วงวัยที่สำคัญของชีวิต เป็นช่วงวัยในการพัฒนามนุษย์อย่างมีประสิทธิภาพเป็นรากฐานของการพัฒนาทั้งปวง เป็นช่วงวัยที่สมองของเด็กมีการเจริญเติบโตอย่างรวดเร็ว (Rosales, Reznick, & Zeisel, 2009) ภาวะโภชนาการที่ดีจะส่งผลต่อการเปลี่ยนแปลงในชีวิตเด็กอย่างมากมาย การได้รับสารอาหารที่เหมาะสมและเพียงพอจึงมีความสำคัญมากต่อพัฒนาการและสติปัญญาของเด็ก (ประไพพิศ, ศักรินทร์ และอติญาณ์, 2560) การมีภาวะโภชนาการที่ไม่ดี นอกจากจะส่งผลต่อระดับสติปัญญา และการเจริญเติบโตแล้ว ยังส่งผลต่อภาวะ
ภูมิต้านทานโรค ทำให้เจ็บป่วยได้บ่อย ระยะเวลาในการเจ็บป่วยนาน และมีความรุนแรงมากขึ้นได้ นอกจากนี้เด็กก่อนวัยเรียนที่มีภาวะโภชนาการเกินและอ้วน จะส่งผลต่อการเกิดโรคไม่ติดต่อเรื้อรังในวัยผู้ใหญ่ได้ (นพร, 2556) จะเห็นได้ว่าพฤติกรรมการบริโภคจะพัฒนาในช่วงวัยเด็กและจะติดตัวไปจนเป็นวัยผู้ใหญ่ ดังนั้นการสร้างนิสัยการรับประทานอาหารที่ดีตั้งแต่เด็กจะส่งผลต่อไปในอนาคต (ประไพพิศ และคณะ, 2560)
จากการศึกษาสถานการณ์ภาวะโภชนาการของเด็กก่อนวัยเรียนในศูนย์ศึกษาเด็กก่อนวัยเรียน อำเภอเมือง จังหวัดสงขลา พบว่า ปัญหาทุพโภชนาการยังเป็นปัญหาที่ยังคงพบในเด็กก่อนวัยเรียน โดยเด็กก่อนวัยเรียนมีภาวะโภชนาการต่ำกว่าเกณฑ์ ร้อยละ 23 และภาวะโภชนาการเกินเกณฑ์ร้อยละ 16.5 นอกจากนี้ยังพบปัญหาการไม่รับประทานผัก พฤติกรรมการรับประทานขนมกรุบกรอบ การรับประทานอาหารที่ไม่เหมาะสม เช่น เลือกรับประทานอาหารมัน อาหารทอด การดื่มนมรสหวาน การรับประทานอาหารหวานและขนมหวาน เป็นต้น
ซึ่งพฤติกรรมเหล่านี้ส่งผลทำให้เกิดภาวะทุพโภชนาการในเด็กก่อนวัยเรียน ซึ่งถ้าไม่ได้รับการแก้ไข ย่อมส่งผลให้เกิดปัญหาทุพโภชนาการที่รุนแรงมากขึ้น และส่งผลต่อคุณภาพของชีวิตของเด็กก่อนวัยเรียนได้ (ตรีทิพย์, จิรารัตน์,
เจิดนภา และอมร, 2562)
จากการศึกษาวิจัยที่ผ่านมา พบว่า สาเหตุของภาวะทุพโภชนาการในเด็กก่อนวัยเรียน เกิดจากผู้ปกครองขาดความรู้ในการจัดอาหารสำหรับเด็ก โดยผู้ปกครองจะให้เด็กรับอาหารประทานอาหารตามความสะดวกและให้รับประทานในปริมาณที่มาก รวมทั้งการเลี้ยงดูบุตร หลานแบบตามใจ โดยผู้ปกครองส่วนใหญ่จะอนุญาตให้เด็กรับประทานอาหารที่เด็กชอบ หรือบางครั้งอาจให้เด็กซื้ออาหารได้เองจากร้านค้าได้เองตามความต้องการ
(สมสิริ, อาภาวรรณ, ณัฐธิรา และรุ่งรดี, 2560) ส่งผลให้พฤติกรรมการดูแลเด็กก่อนวัยเรียนและที่บ้านไม่สอดคล้องกัน ซึ่งส่งผลให้ไม่สามารถแก้ไขปัญหาภาวะโภชนาการได้ และจากการศึกษาเรื่องรูปแบบการเฝ้าระวังและส่งเสริมภาวะโภชนาการของเด็กก่อนวัยเรียน อำเภอเมือง จังหวัดสงขลา พบว่า ครู พี่เลี้ยง แม่ครัว และผู้ปกครองมีความต้องการการได้รับความรู้เกี่ยวกับภาวะโภชนาการของเด็กก่อนวัยเรียน เนื่องจากเห็นว่ามีความสำคัญต่อการนำไปใช้ในการดูแลบุตร หลานที่อยู่ในช่วงก่อนวัยเรียน เพื่อจะได้ช่วยในการเฝ้าระวังและส่งเสริมภาวะโภชนาการในเด็กก่อนวัยเรียนให้เป็นไปตามเกณฑ์ (ตรีทิพย์ และคณะ, 2562) รวมทั้งการเฝ้าระวังและส่งเสริมภาวะโภชนาการของเด็กก่อนวัยเรียนให้มีประสิทธิภาพนั้น จำเป็นต้องอาศัยความร่วมมือจากครอบครัว และโรงเรียนในการวางแผนและดำเนินการแก้ปัญหาร่วมกัน ซึ่งจะนำไปสู่ภาวะโภชนาการที่ดีของเด็กก่อนวัยเรียนได้ (เจิดนภา และคณะ, 2560; สมศิริ
และคณะ, 2560)
ดังนั้นเพื่อให้การเฝ้าระวังและส่งเสริมภาวะโภชนาการของเด็กก่อนวัยเรียนให้มีประสิทธิภาพนั้น ครู พี่เลี้ยง แม่ครัว และผู้ปกครองจำเป็นต้องมีความรู้ ความเข้าใจ เกี่ยวกับภาวะโภชนาการของเด็กก่อนวัยเรียน เพื่อสามารถนำไปสู่การสร้างความตระหนักและการปฏิบัติที่ถูกต้องในการดูแลด้านภาวะโภชนาการในเด็กก่อนวัยเรียน จากเหตุผลที่กล่าวมาแล้วข้างต้น จึงจำเป็นต้องจัดโครงการ อบรมเชิงปฏิบัติการเรื่องภาวะโภชนาการในเด็กก่อนวัยเรียนขึ้น
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- 1. เพื่อให้ครู พี่เลี้ยง แม่ครัว และผู้ปกครอง มีความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับภาวะโภชนาการของเด็กก่อนวัยเรียน
- ๒. เพื่อให้ครู พี่เลี้ยง แม่ครัว และผู้ปกครอง ตระหนักถึงความสำคัญเกี่ยวกับภาวะโภชนาการของเด็กก่อนวัยเรียน
- 3. เพื่อให้ครู พี่เลี้ยง แม่ครัว และผู้ปกครอง สามารถนำความรู้เกี่ยวกับภาวะโภชนาการของเด็กก่อนวัยเรียนไปใช้กับเด็กก่อนวัยเรียนได้
กิจกรรม/การดำเนินงาน
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
300
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
- ครู พี่เลี้ยง แม่ครัว และผู้ปกครอง มีความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับภาวะโภชนาการของเด็กก่อนวัยเรียน
๒. ครู พี่เลี้ยง แม่ครัว และผู้ปกครอง ตระหนักถึงความสำคัญเกี่ยวกับภาวะโภชนาการของเด็กก่อนวัยเรียน
- ครู พี่เลี้ยง แม่ครัว และผู้ปกครอง สามารถนำความรู้เกี่ยวกับภาวะโภชนาการของเด็กก่อนวัยเรียนไปใช้กับเด็กก่อนวัยเรียนได้
๔. ภาวะโภชนาการของเด็กก่อนวัยเรียนในศูนย์ศึกษาเด็กก่อนวัยเรียนทั้ง 6 ศูนย์เป็นไปตามเกณฑ์
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ ผลผลิต* ผลผลิตที่ตั้งไว้ ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
- บรรยายให้ความรู้เกี่ยวกับภาวะโภชนาการในเด็กก่อนวัยเรียน ให้กับ 5 ศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก (ยกเว้นศูนย์ศึกษาเด็กก่อนวัยเรียน วิทยาลัยพยาบาลบรมราชชนนี สงขลา เนื่องจากตอนดำเนินโครงการศูนย์ฯได้ย้ายที่ทำการไปอยู่ที่เกาะยอ)
- แบ่งกลุ่มครู พี่เลี้ยง แม่ครัว และผู้ปกครองเป็น 4 ฐาน เพื่อเข้าฝึกปฏิบัติการเกี่ยวกับภาวะโภชนาการของ
เด็กก่อนวัยเรียน โดยมีรายละเอียดของฐาน ดังนี้
ฐานที่ 1 ฐานการบันทึกและแปลกราฟการเจริญเติบโต
ฐานที่ 2 ฐานการอ่านฉลากบริโภคอาหาร
ฐานที่ 3 ฐานการทำแซนวิซเพื่อสุขภาพ
ฐานที่ 4 ฐานการทำเครื่องดื่มสุขภาพเพื่อลูกน้อย
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ สถานการณ์ เป้าหมาย ผลผลิต อธิบาย
1
1. เพื่อให้ครู พี่เลี้ยง แม่ครัว และผู้ปกครอง มีความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับภาวะโภชนาการของเด็กก่อนวัยเรียน
ตัวชี้วัด : 1. ร้อยละ 80 ของครู พี่เลี้ยง แม่ครัว และผู้ปกครอง มีความรู้เกี่ยวกับภาวะโภชนาการของเด็กก่อนวัยเรียนในระดับดีขึ้นไป
80.00
87.37
- ร้อยละ 87.37 ครู พี่เลี้ยง แม่ครัวและผู้ปกครองได้เข้าร่วมอบรมเชิงปฏิบัติการเรื่องภาวะโภชนาการในเด็กก่อนวัยเรียน (เข้าร่วม 263 คน จากทั้งหมด 301 คน)
2
๒. เพื่อให้ครู พี่เลี้ยง แม่ครัว และผู้ปกครอง ตระหนักถึงความสำคัญเกี่ยวกับภาวะโภชนาการของเด็กก่อนวัยเรียน
ตัวชี้วัด : ๒. ร้อยละ ๘๐ ของครู พี่เลี้ยง แม่ครัว และผู้ปกครองได้เข้าร่วมโครงการอบรมเชิงปฏิบัติการเรื่อง
ภาวะโภชนาการในเด็กก่อนวัยเรียน
80.00
84.72
- เด็กก่อนวัยเรียนทั้ง 5 ศูนย์ฯมีภาวะโภชนาการเป็นไปตามเกณฑ์ร้อยละ ภายในระยะเวลา 3 เดือน
3
3. เพื่อให้ครู พี่เลี้ยง แม่ครัว และผู้ปกครอง สามารถนำความรู้เกี่ยวกับภาวะโภชนาการของเด็กก่อนวัยเรียนไปใช้กับเด็กก่อนวัยเรียนได้
ตัวชี้วัด : ๓. ร้อยละ ๘๐ ของครู พี่เลี้ยง แม่ครัว และผู้ปกครองมีความพึงพอใจในการเข้าร่วมโครงการในระดับดีขึ้นไป
4. ร้อยละ 80 ของเด็กก่อนวัยเรียนทั้ง 6 ศูนย์ มีภาวะโภชนาการเป็นไปตามเกณฑ์ ภายในระยะเวลา
3 เดือน
80.00
92.81
3.เด็กก่อนวัยเรียนทั้ง 5 ศูนย์ฯ
มีพัฒนาการสมวัยทั้ง 5 ด้าน ร้อยละ ภายในระยะเวลา 3 เดือน
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด
300
300
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
300
300
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
-
กลุ่มวัยทำงาน
-
กลุ่มผู้สูงอายุ
-
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
-
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
-
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
-
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
-
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
-
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) 1. เพื่อให้ครู พี่เลี้ยง แม่ครัว และผู้ปกครอง มีความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับภาวะโภชนาการของเด็กก่อนวัยเรียน (2) ๒. เพื่อให้ครู พี่เลี้ยง แม่ครัว และผู้ปกครอง ตระหนักถึงความสำคัญเกี่ยวกับภาวะโภชนาการของเด็กก่อนวัยเรียน (3) 3. เพื่อให้ครู พี่เลี้ยง แม่ครัว และผู้ปกครอง สามารถนำความรู้เกี่ยวกับภาวะโภชนาการของเด็กก่อนวัยเรียนไปใช้กับเด็กก่อนวัยเรียนได้
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *- บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
- หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค สาเหตุ ข้อเสนอแนะ
โครงการอบรมเชิงปฏิบัติการเรื่องภาวะโภชนาการในเด็กก่อนวัยเรียน จังหวัด สงขลา
รหัสโครงการ 63-L7250-3-01
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
................................
( (นางสาวตรีทิพย์ เครือหลี) ตำแหน่ง พยาบาลวิชาชีพชำนาญการ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......
โครงการ
“ โครงการอบรมเชิงปฏิบัติการเรื่องภาวะโภชนาการในเด็กก่อนวัยเรียน ”
อำเภอเมืองสงขลา จังหวัดสงขลา
หัวหน้าโครงการ
(นางสาวตรีทิพย์ เครือหลี) ตำแหน่ง พยาบาลวิชาชีพชำนาญการ
ธันวาคม 2563
ที่อยู่ อำเภอเมืองสงขลา จังหวัดสงขลา จังหวัด สงขลา
รหัสโครงการ 63-L7250-3-01 เลขที่ข้อตกลง
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 กรกฎาคม 2563 ถึง 31 ธันวาคม 2563
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการอบรมเชิงปฏิบัติการเรื่องภาวะโภชนาการในเด็กก่อนวัยเรียน จังหวัดสงขลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน อำเภอเมืองสงขลา จังหวัดสงขลา
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนหลักประกันสุขภาพ เทศบาลนครสงขลา ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการอบรมเชิงปฏิบัติการเรื่องภาวะโภชนาการในเด็กก่อนวัยเรียน
บทคัดย่อ
โครงการ " โครงการอบรมเชิงปฏิบัติการเรื่องภาวะโภชนาการในเด็กก่อนวัยเรียน " ดำเนินการในพื้นที่ อำเภอเมืองสงขลา จังหวัดสงขลา รหัสโครงการ 63-L7250-3-01 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 กรกฎาคม 2563 - 31 ธันวาคม 2563 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 48,900.00 บาท จาก กองทุนหลักประกันสุขภาพ เทศบาลนครสงขลา เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ | » |
บทคัดย่อ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล | » |
วัตถุประสงค์โครงการ | » |
กิจกรรม/การดำเนินงาน | » |
กลุ่มเป้าหมาย | » |
ผลลัพธ์ที่ได้ | » |
การประเมินผล | » |
ปัญหาและอุปสรรค | » |
ข้อเสนอแนะ | » |
เอกสารประกอบอื่นๆ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
ปัญหาภาวะโภชนาการในศตวรรษที่ 21 ของประเทศที่กำลังพัฒนารวมทั้งประเทศไทย มีความสอดคล้องกัน คือ การมีภาวะโภชนาทุพโภชนาการ โดยมีปัญหาโภชนาการต่ำกว่าเกณฑ์ในพื้นที่ยากจนหรือท้องที่ห่างไกลและปัญหาภาวะโภชนาการเกินที่มีจำนวนเพิ่มขึ้นอย่างรวดเร็วในสังคมเมือง โดยเฉพาะปัญหาโภชนาการเกินที่มีแนวโน้มเพิ่มสูงขึ้นมาก และมักกลายเป็นโรคอ้วน ซึ่งส่งผลกระทบให้เกิดโรคเรื้อรังตามมาได้ ซึ่งเป็นการบั่นทอนคุณภาพของทรัพยากรมนุษย์ของประเทศในอนาคต (นพร, 2556)
ช่วงวัยก่อนเรียนเป็นช่วงวัยที่สำคัญของชีวิต เป็นช่วงวัยในการพัฒนามนุษย์อย่างมีประสิทธิภาพเป็นรากฐานของการพัฒนาทั้งปวง เป็นช่วงวัยที่สมองของเด็กมีการเจริญเติบโตอย่างรวดเร็ว (Rosales, Reznick, & Zeisel, 2009) ภาวะโภชนาการที่ดีจะส่งผลต่อการเปลี่ยนแปลงในชีวิตเด็กอย่างมากมาย การได้รับสารอาหารที่เหมาะสมและเพียงพอจึงมีความสำคัญมากต่อพัฒนาการและสติปัญญาของเด็ก (ประไพพิศ, ศักรินทร์ และอติญาณ์, 2560) การมีภาวะโภชนาการที่ไม่ดี นอกจากจะส่งผลต่อระดับสติปัญญา และการเจริญเติบโตแล้ว ยังส่งผลต่อภาวะ
ภูมิต้านทานโรค ทำให้เจ็บป่วยได้บ่อย ระยะเวลาในการเจ็บป่วยนาน และมีความรุนแรงมากขึ้นได้ นอกจากนี้เด็กก่อนวัยเรียนที่มีภาวะโภชนาการเกินและอ้วน จะส่งผลต่อการเกิดโรคไม่ติดต่อเรื้อรังในวัยผู้ใหญ่ได้ (นพร, 2556) จะเห็นได้ว่าพฤติกรรมการบริโภคจะพัฒนาในช่วงวัยเด็กและจะติดตัวไปจนเป็นวัยผู้ใหญ่ ดังนั้นการสร้างนิสัยการรับประทานอาหารที่ดีตั้งแต่เด็กจะส่งผลต่อไปในอนาคต (ประไพพิศ และคณะ, 2560)
จากการศึกษาสถานการณ์ภาวะโภชนาการของเด็กก่อนวัยเรียนในศูนย์ศึกษาเด็กก่อนวัยเรียน อำเภอเมือง จังหวัดสงขลา พบว่า ปัญหาทุพโภชนาการยังเป็นปัญหาที่ยังคงพบในเด็กก่อนวัยเรียน โดยเด็กก่อนวัยเรียนมีภาวะโภชนาการต่ำกว่าเกณฑ์ ร้อยละ 23 และภาวะโภชนาการเกินเกณฑ์ร้อยละ 16.5 นอกจากนี้ยังพบปัญหาการไม่รับประทานผัก พฤติกรรมการรับประทานขนมกรุบกรอบ การรับประทานอาหารที่ไม่เหมาะสม เช่น เลือกรับประทานอาหารมัน อาหารทอด การดื่มนมรสหวาน การรับประทานอาหารหวานและขนมหวาน เป็นต้น
ซึ่งพฤติกรรมเหล่านี้ส่งผลทำให้เกิดภาวะทุพโภชนาการในเด็กก่อนวัยเรียน ซึ่งถ้าไม่ได้รับการแก้ไข ย่อมส่งผลให้เกิดปัญหาทุพโภชนาการที่รุนแรงมากขึ้น และส่งผลต่อคุณภาพของชีวิตของเด็กก่อนวัยเรียนได้ (ตรีทิพย์, จิรารัตน์,
เจิดนภา และอมร, 2562)
จากการศึกษาวิจัยที่ผ่านมา พบว่า สาเหตุของภาวะทุพโภชนาการในเด็กก่อนวัยเรียน เกิดจากผู้ปกครองขาดความรู้ในการจัดอาหารสำหรับเด็ก โดยผู้ปกครองจะให้เด็กรับอาหารประทานอาหารตามความสะดวกและให้รับประทานในปริมาณที่มาก รวมทั้งการเลี้ยงดูบุตร หลานแบบตามใจ โดยผู้ปกครองส่วนใหญ่จะอนุญาตให้เด็กรับประทานอาหารที่เด็กชอบ หรือบางครั้งอาจให้เด็กซื้ออาหารได้เองจากร้านค้าได้เองตามความต้องการ
(สมสิริ, อาภาวรรณ, ณัฐธิรา และรุ่งรดี, 2560) ส่งผลให้พฤติกรรมการดูแลเด็กก่อนวัยเรียนและที่บ้านไม่สอดคล้องกัน ซึ่งส่งผลให้ไม่สามารถแก้ไขปัญหาภาวะโภชนาการได้ และจากการศึกษาเรื่องรูปแบบการเฝ้าระวังและส่งเสริมภาวะโภชนาการของเด็กก่อนวัยเรียน อำเภอเมือง จังหวัดสงขลา พบว่า ครู พี่เลี้ยง แม่ครัว และผู้ปกครองมีความต้องการการได้รับความรู้เกี่ยวกับภาวะโภชนาการของเด็กก่อนวัยเรียน เนื่องจากเห็นว่ามีความสำคัญต่อการนำไปใช้ในการดูแลบุตร หลานที่อยู่ในช่วงก่อนวัยเรียน เพื่อจะได้ช่วยในการเฝ้าระวังและส่งเสริมภาวะโภชนาการในเด็กก่อนวัยเรียนให้เป็นไปตามเกณฑ์ (ตรีทิพย์ และคณะ, 2562) รวมทั้งการเฝ้าระวังและส่งเสริมภาวะโภชนาการของเด็กก่อนวัยเรียนให้มีประสิทธิภาพนั้น จำเป็นต้องอาศัยความร่วมมือจากครอบครัว และโรงเรียนในการวางแผนและดำเนินการแก้ปัญหาร่วมกัน ซึ่งจะนำไปสู่ภาวะโภชนาการที่ดีของเด็กก่อนวัยเรียนได้ (เจิดนภา และคณะ, 2560; สมศิริ
และคณะ, 2560)
ดังนั้นเพื่อให้การเฝ้าระวังและส่งเสริมภาวะโภชนาการของเด็กก่อนวัยเรียนให้มีประสิทธิภาพนั้น ครู พี่เลี้ยง แม่ครัว และผู้ปกครองจำเป็นต้องมีความรู้ ความเข้าใจ เกี่ยวกับภาวะโภชนาการของเด็กก่อนวัยเรียน เพื่อสามารถนำไปสู่การสร้างความตระหนักและการปฏิบัติที่ถูกต้องในการดูแลด้านภาวะโภชนาการในเด็กก่อนวัยเรียน จากเหตุผลที่กล่าวมาแล้วข้างต้น จึงจำเป็นต้องจัดโครงการ อบรมเชิงปฏิบัติการเรื่องภาวะโภชนาการในเด็กก่อนวัยเรียนขึ้น
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- 1. เพื่อให้ครู พี่เลี้ยง แม่ครัว และผู้ปกครอง มีความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับภาวะโภชนาการของเด็กก่อนวัยเรียน
- ๒. เพื่อให้ครู พี่เลี้ยง แม่ครัว และผู้ปกครอง ตระหนักถึงความสำคัญเกี่ยวกับภาวะโภชนาการของเด็กก่อนวัยเรียน
- 3. เพื่อให้ครู พี่เลี้ยง แม่ครัว และผู้ปกครอง สามารถนำความรู้เกี่ยวกับภาวะโภชนาการของเด็กก่อนวัยเรียนไปใช้กับเด็กก่อนวัยเรียนได้
กิจกรรม/การดำเนินงาน
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้ | |
---|---|---|
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | ||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | 300 | |
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | ||
กลุ่มวัยทำงาน | ||
กลุ่มผู้สูงอายุ | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | ||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | ||
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] |
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
- ครู พี่เลี้ยง แม่ครัว และผู้ปกครอง มีความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับภาวะโภชนาการของเด็กก่อนวัยเรียน
๒. ครู พี่เลี้ยง แม่ครัว และผู้ปกครอง ตระหนักถึงความสำคัญเกี่ยวกับภาวะโภชนาการของเด็กก่อนวัยเรียน
- ครู พี่เลี้ยง แม่ครัว และผู้ปกครอง สามารถนำความรู้เกี่ยวกับภาวะโภชนาการของเด็กก่อนวัยเรียนไปใช้กับเด็กก่อนวัยเรียนได้ ๔. ภาวะโภชนาการของเด็กก่อนวัยเรียนในศูนย์ศึกษาเด็กก่อนวัยเรียนทั้ง 6 ศูนย์เป็นไปตามเกณฑ์
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้ ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์** กิจกรรมของโครงการ | ผลผลิต* | |
---|---|---|
ผลผลิตที่ตั้งไว้ | ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง |
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
- บรรยายให้ความรู้เกี่ยวกับภาวะโภชนาการในเด็กก่อนวัยเรียน ให้กับ 5 ศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก (ยกเว้นศูนย์ศึกษาเด็กก่อนวัยเรียน วิทยาลัยพยาบาลบรมราชชนนี สงขลา เนื่องจากตอนดำเนินโครงการศูนย์ฯได้ย้ายที่ทำการไปอยู่ที่เกาะยอ)
- แบ่งกลุ่มครู พี่เลี้ยง แม่ครัว และผู้ปกครองเป็น 4 ฐาน เพื่อเข้าฝึกปฏิบัติการเกี่ยวกับภาวะโภชนาการของ เด็กก่อนวัยเรียน โดยมีรายละเอียดของฐาน ดังนี้ ฐานที่ 1 ฐานการบันทึกและแปลกราฟการเจริญเติบโต ฐานที่ 2 ฐานการอ่านฉลากบริโภคอาหาร ฐานที่ 3 ฐานการทำแซนวิซเพื่อสุขภาพ ฐานที่ 4 ฐานการทำเครื่องดื่มสุขภาพเพื่อลูกน้อย
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ | สถานการณ์ | เป้าหมาย | ผลผลิต | อธิบาย | |
---|---|---|---|---|---|
1 | 1. เพื่อให้ครู พี่เลี้ยง แม่ครัว และผู้ปกครอง มีความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับภาวะโภชนาการของเด็กก่อนวัยเรียน ตัวชี้วัด : 1. ร้อยละ 80 ของครู พี่เลี้ยง แม่ครัว และผู้ปกครอง มีความรู้เกี่ยวกับภาวะโภชนาการของเด็กก่อนวัยเรียนในระดับดีขึ้นไป |
80.00 | 87.37 |
|
|
2 | ๒. เพื่อให้ครู พี่เลี้ยง แม่ครัว และผู้ปกครอง ตระหนักถึงความสำคัญเกี่ยวกับภาวะโภชนาการของเด็กก่อนวัยเรียน ตัวชี้วัด : ๒. ร้อยละ ๘๐ ของครู พี่เลี้ยง แม่ครัว และผู้ปกครองได้เข้าร่วมโครงการอบรมเชิงปฏิบัติการเรื่อง ภาวะโภชนาการในเด็กก่อนวัยเรียน |
80.00 | 84.72 |
|
|
3 | 3. เพื่อให้ครู พี่เลี้ยง แม่ครัว และผู้ปกครอง สามารถนำความรู้เกี่ยวกับภาวะโภชนาการของเด็กก่อนวัยเรียนไปใช้กับเด็กก่อนวัยเรียนได้ ตัวชี้วัด : ๓. ร้อยละ ๘๐ ของครู พี่เลี้ยง แม่ครัว และผู้ปกครองมีความพึงพอใจในการเข้าร่วมโครงการในระดับดีขึ้นไป 4. ร้อยละ 80 ของเด็กก่อนวัยเรียนทั้ง 6 ศูนย์ มีภาวะโภชนาการเป็นไปตามเกณฑ์ ภายในระยะเวลา 3 เดือน |
80.00 | 92.81 | 3.เด็กก่อนวัยเรียนทั้ง 5 ศูนย์ฯ มีพัฒนาการสมวัยทั้ง 5 ด้าน ร้อยละ ภายในระยะเวลา 3 เดือน |
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
---|---|---|---|
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด | 300 | 300 | |
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | |||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | 300 | 300 | |
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | - | ||
กลุ่มวัยทำงาน | - | ||
กลุ่มผู้สูงอายุ | - | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | |||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | - | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | - | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | - | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | - | ||
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] | - |
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) 1. เพื่อให้ครู พี่เลี้ยง แม่ครัว และผู้ปกครอง มีความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับภาวะโภชนาการของเด็กก่อนวัยเรียน (2) ๒. เพื่อให้ครู พี่เลี้ยง แม่ครัว และผู้ปกครอง ตระหนักถึงความสำคัญเกี่ยวกับภาวะโภชนาการของเด็กก่อนวัยเรียน (3) 3. เพื่อให้ครู พี่เลี้ยง แม่ครัว และผู้ปกครอง สามารถนำความรู้เกี่ยวกับภาวะโภชนาการของเด็กก่อนวัยเรียนไปใช้กับเด็กก่อนวัยเรียนได้
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค | สาเหตุ | ข้อเสนอแนะ |
---|---|---|
|
|
|
โครงการอบรมเชิงปฏิบัติการเรื่องภาวะโภชนาการในเด็กก่อนวัยเรียน จังหวัด สงขลา
รหัสโครงการ 63-L7250-3-01
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
( (นางสาวตรีทิพย์ เครือหลี) ตำแหน่ง พยาบาลวิชาชีพชำนาญการ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......