โครงการรวมพลังอสม.รพ.สต.น้ำเชี่ยว ป้องกันและควบคุมโรคติดต่อที่มียุงเป็นพาหะ ปี 2563
แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์
รายงานฉบับสมบูรณ์
โครงการ
“ โครงการรวมพลังอสม.รพ.สต.น้ำเชี่ยว ป้องกันและควบคุมโรคติดต่อที่มียุงเป็นพาหะ ปี 2563 ”
ตำบลเขาแดง อำเภอสะบ้าย้อย จังหวัดสงขลา
หัวหน้าโครงการ
นางสมทรง แวกาจิ
ได้รับการสนับสนุนโดย กองทุนสุขภาพตำบล อบต.เขาแดง
กันยายน 2563
ชื่อโครงการ โครงการรวมพลังอสม.รพ.สต.น้ำเชี่ยว ป้องกันและควบคุมโรคติดต่อที่มียุงเป็นพาหะ ปี 2563
ที่อยู่ ตำบลเขาแดง อำเภอสะบ้าย้อย จังหวัดสงขลา จังหวัด สงขลา
รหัสโครงการ 63-L5253-2-04 เลขที่ข้อตกลง
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 ตุลาคม 2562 ถึง 30 กันยายน 2563
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการรวมพลังอสม.รพ.สต.น้ำเชี่ยว ป้องกันและควบคุมโรคติดต่อที่มียุงเป็นพาหะ ปี 2563 จังหวัดสงขลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลเขาแดง อำเภอสะบ้าย้อย จังหวัดสงขลา
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.เขาแดง ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการรวมพลังอสม.รพ.สต.น้ำเชี่ยว ป้องกันและควบคุมโรคติดต่อที่มียุงเป็นพาหะ ปี 2563
บทคัดย่อ
โครงการ " โครงการรวมพลังอสม.รพ.สต.น้ำเชี่ยว ป้องกันและควบคุมโรคติดต่อที่มียุงเป็นพาหะ ปี 2563 " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลเขาแดง อำเภอสะบ้าย้อย จังหวัดสงขลา รหัสโครงการ 63-L5253-2-04 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 ตุลาคม 2562 - 30 กันยายน 2563 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 53,600.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.เขาแดง เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ »
บทคัดย่อ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล »
วัตถุประสงค์โครงการ »
กิจกรรม/การดำเนินงาน »
กลุ่มเป้าหมาย »
ผลลัพธ์ที่ได้ »
การประเมินผล »
ปัญหาและอุปสรรค »
ข้อเสนอแนะ »
เอกสารประกอบอื่นๆ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
ปัจจุบันโรคติดต่อที่มียุงเป็นพาหะนำโรค กำลังเป็นปัญหาสำคัญทางสาธารณสุขของประเทศไทย เช่น โรคไข้เลือดออก โรคมาลาเรีย โรคไข้ซิกา โรคไข้ชิคุณกุนยา โดยเฉพาะโรคไข้เลือดออก โรคได้แพร่กระจายเกือบทุกพื้นที่ทุกจังหวัดของประเทศไทย ในปี พ.ศ. 2562 ทั่วประเทศ มีผู้ป่วยด้วยโรคไข้เลือดออกเข้ารับการรักษา จำนวน 128,964 ราย เสียชีวิต 133 ราย โดยจังหวัดสงขลามีผู้ป่วย 3,097 ราย เสียชีวิต 5 ราย ในส่วนของอำเภอสะบ้าย้อย มีผู้ป่วยไข้เลือดออก 198 ราย ไม่มีผู้เสียชีวิต และในส่วนของพื้นที่ หมู่ที่ 4 และหมู่ที่ 7 ตำบลเขาแดง ซึ่งเป็นเขตรับผิดชอบของชมรม อสม.รพ.สต.น้ำเชี่ยว มีผู้ป่วยด้วยโรคไข้เลือดออก หมู่ที่ 4 จำนวน 4 ราย และหมู่ที่ 7 จำนวน 6 ราย และโรคมาลาเรีย พบในพื้นที่ หมู่ที่ 4 จำนวน 10 ราย ส่วนพื้นที่หมู่ที่ 7 ไม่พบผู้ป่วย ซึ่งโรคดังกล่าวล้วนมียุงเป็นพาหะนำโรค ยุงลายมีแหล่งเพาะพันธ์ในภาชนะที่มีน้ำขังทั้งในบ้านและนอกบ้าน เช่น โอ่ง ไห อ่าง กะลา แจกัน และกระถางต้นไม้ เป็นต้น โดยเฉพาะโรคไข้เลือดออกเป็นโรคติดต่อที่อันตราย หากไม่ดำเนินการควบคุมโรคให้ทันท่วงทีอาจเป็นปัญหาต่อสุขภาพของประชาชนและถึงขั้นเสียชีวิตได้
ดังนั้น จึงจำเป็นอย่างยิ่งที่จะต้องมีการควบคุมและป้องกันโรคอย่างเร่งด่วน ซึ่งมาตรการสำคัญที่จะควบคุมโรคให้ได้ผล ต้องอาศัยการประสานงานการมีส่วนร่วมของผู้นำชุมชน ภาคประชาชน ทำหน้าที่ในรูปแบบของการเฝ้าระวังและควบคุมโรคเชิงรุก คือ การควบคุมและกำจัดยุงลาย ซึ่งเป็นพาหะนำโรคโดยการทำลายแหล่งเพาะพันธ์ยุง การกำจัดยุง ทั้งกายภาพและเคมี รวมทั้งให้สุขศึกษา ประชาสัมพันธ์ให้ประชาชนมีความรู้ และเกิดทัศนคติที่ดี พร้อมทั้งมีส่วนร่วมในการควบคุมและป้องกันโรค ด้วยเหตุผลและความจำเป็นดังกล่าว ชมรมอสม.รพ.สต.น้ำเชี่ยว อำเภอสะบ้าย้อย จังหวัดสงขลา จึงได้จัดทำโครงการรวมพลัง อสม.รพ.สต.น้ำเชี่ยวควบคุมและป้องกันโรคติดต่อที่มียุงเป็นพาหะ ปี 2563 เพื่อสุขภาพและคุณภาพชีวิตที่ดีของประชาชนในพื้นที่ หมู่ที่ 4 และหมู่ที่ 7 ตำบลเขาแดง อำเภอสะบ้าย้อย จังหวัดสงขลา
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- เพื่อเฝ้าระวังโรคไข้เลือดออก โดยการสำรวจ ค่า Hl , Cl
กิจกรรม/การดำเนินงาน
- พ่นหมอกควัน
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
2,246
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
- ทำให้ประชาชนในชุมชน มีความตระหนัก ความเข้าใจ เกี่ยวกับโรคที่มียุงเป็นพาหะและมีพฤติกรรมที่ถูกต้องเหมาะสม ต่อการป้องกันโรคดังกล่าว
- ประชาชนให้ความร่วมมือในการดำเนินการควบคุมและป้องกันโรคดังกล่าว
- ทำให้ประชาชนมีส่วนร่วมในการทำกิจกรรมทำลายแหล่งเพาะพันธ์ุยุงลายอย่างต่อเนื่องสม่ำเสมอทำให้สามารถลดแหล่งเพาะพันธุ์ลูกน้ำยุงลายภายในบ้าน ชุมชน โรงเรียนให้น้อยลง
- ประชาชนทั่วไป อสม. ครู นักเรียน มีส่วนร่วมในการป้องกันโรคที่มียุงเป็นพาหะ
- ประชาชนทั่วไป อสม. ครู นักเรียน มีความตระหนักในการป้องกันโรคที่มียุงเป็นพาหะเพิ่มขึ้น
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ ผลผลิต* ผลผลิตที่ตั้งไว้ ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ได้ดำเนินการพ่นหมอกควัน เพื่อกำจัดยุงพาหะที่มีเชื้อไข้เลือดออกและมาลาเรียในพื้นที่ หมู่่ที่ ๔ และหมู่ที่ ๗ ตำบลเขาแดง อำเภอสะบ้าย้อย จังหวัดสงขลา ตลอดจนพ่นยุงในโรงเรียน ตชด. ก่อนเปิดภาคเรียน ทำให้สามารถยับยั้งการระบาดของโรคไข้เลือดออกและมาลาเรียในพื้นที่ได้ ทำให้จำนวนผู้ป่วยลดลง ประชาชนเกิดความตระหนักให้ความสำคัญกับการเฝ้าระวังและกำจัดแหล่งเพาะพันธ์ุยุงมากขึ้น สังเกตจากการสำรวจค่า Hl , Cl ในพื้นที่ หมู่ที่ ๔ และหมู่ที่ ๗ ตำบลเขาแดง อำเภอสะบ้าย้อย จังหวัดสงขลา มีแนวโน้มลดลง
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ สถานการณ์ เป้าหมาย ผลผลิต อธิบาย
1
เพื่อเฝ้าระวังโรคไข้เลือดออก โดยการสำรวจ ค่า Hl , Cl
ตัวชี้วัด : ในชุมชมลดแหล่งเพาะพันธ์ุลูกน้ำยุงลาย โดยให้มีบ้านที่พบลูกน้ำยุงลายไม่เกินร้อยละ
10.00
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด
2246
2246
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
-
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
-
กลุ่มวัยทำงาน
-
กลุ่มผู้สูงอายุ
-
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
-
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
-
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
-
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
2,246
2,246
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
-
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อเฝ้าระวังโรคไข้เลือดออก โดยการสำรวจ ค่า Hl , Cl
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) พ่นหมอกควัน
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *- บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
- หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค สาเหตุ ข้อเสนอแนะ
โครงการรวมพลังอสม.รพ.สต.น้ำเชี่ยว ป้องกันและควบคุมโรคติดต่อที่มียุงเป็นพาหะ ปี 2563 จังหวัด สงขลา
รหัสโครงการ 63-L5253-2-04
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
................................
( นางสมทรง แวกาจิ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......
โครงการ
“ โครงการรวมพลังอสม.รพ.สต.น้ำเชี่ยว ป้องกันและควบคุมโรคติดต่อที่มียุงเป็นพาหะ ปี 2563 ”
ตำบลเขาแดง อำเภอสะบ้าย้อย จังหวัดสงขลา
หัวหน้าโครงการ
นางสมทรง แวกาจิ
กันยายน 2563
ที่อยู่ ตำบลเขาแดง อำเภอสะบ้าย้อย จังหวัดสงขลา จังหวัด สงขลา
รหัสโครงการ 63-L5253-2-04 เลขที่ข้อตกลง
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 ตุลาคม 2562 ถึง 30 กันยายน 2563
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการรวมพลังอสม.รพ.สต.น้ำเชี่ยว ป้องกันและควบคุมโรคติดต่อที่มียุงเป็นพาหะ ปี 2563 จังหวัดสงขลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลเขาแดง อำเภอสะบ้าย้อย จังหวัดสงขลา
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.เขาแดง ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการรวมพลังอสม.รพ.สต.น้ำเชี่ยว ป้องกันและควบคุมโรคติดต่อที่มียุงเป็นพาหะ ปี 2563
บทคัดย่อ
โครงการ " โครงการรวมพลังอสม.รพ.สต.น้ำเชี่ยว ป้องกันและควบคุมโรคติดต่อที่มียุงเป็นพาหะ ปี 2563 " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลเขาแดง อำเภอสะบ้าย้อย จังหวัดสงขลา รหัสโครงการ 63-L5253-2-04 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 ตุลาคม 2562 - 30 กันยายน 2563 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 53,600.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.เขาแดง เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ | » |
บทคัดย่อ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล | » |
วัตถุประสงค์โครงการ | » |
กิจกรรม/การดำเนินงาน | » |
กลุ่มเป้าหมาย | » |
ผลลัพธ์ที่ได้ | » |
การประเมินผล | » |
ปัญหาและอุปสรรค | » |
ข้อเสนอแนะ | » |
เอกสารประกอบอื่นๆ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
ปัจจุบันโรคติดต่อที่มียุงเป็นพาหะนำโรค กำลังเป็นปัญหาสำคัญทางสาธารณสุขของประเทศไทย เช่น โรคไข้เลือดออก โรคมาลาเรีย โรคไข้ซิกา โรคไข้ชิคุณกุนยา โดยเฉพาะโรคไข้เลือดออก โรคได้แพร่กระจายเกือบทุกพื้นที่ทุกจังหวัดของประเทศไทย ในปี พ.ศ. 2562 ทั่วประเทศ มีผู้ป่วยด้วยโรคไข้เลือดออกเข้ารับการรักษา จำนวน 128,964 ราย เสียชีวิต 133 ราย โดยจังหวัดสงขลามีผู้ป่วย 3,097 ราย เสียชีวิต 5 ราย ในส่วนของอำเภอสะบ้าย้อย มีผู้ป่วยไข้เลือดออก 198 ราย ไม่มีผู้เสียชีวิต และในส่วนของพื้นที่ หมู่ที่ 4 และหมู่ที่ 7 ตำบลเขาแดง ซึ่งเป็นเขตรับผิดชอบของชมรม อสม.รพ.สต.น้ำเชี่ยว มีผู้ป่วยด้วยโรคไข้เลือดออก หมู่ที่ 4 จำนวน 4 ราย และหมู่ที่ 7 จำนวน 6 ราย และโรคมาลาเรีย พบในพื้นที่ หมู่ที่ 4 จำนวน 10 ราย ส่วนพื้นที่หมู่ที่ 7 ไม่พบผู้ป่วย ซึ่งโรคดังกล่าวล้วนมียุงเป็นพาหะนำโรค ยุงลายมีแหล่งเพาะพันธ์ในภาชนะที่มีน้ำขังทั้งในบ้านและนอกบ้าน เช่น โอ่ง ไห อ่าง กะลา แจกัน และกระถางต้นไม้ เป็นต้น โดยเฉพาะโรคไข้เลือดออกเป็นโรคติดต่อที่อันตราย หากไม่ดำเนินการควบคุมโรคให้ทันท่วงทีอาจเป็นปัญหาต่อสุขภาพของประชาชนและถึงขั้นเสียชีวิตได้
ดังนั้น จึงจำเป็นอย่างยิ่งที่จะต้องมีการควบคุมและป้องกันโรคอย่างเร่งด่วน ซึ่งมาตรการสำคัญที่จะควบคุมโรคให้ได้ผล ต้องอาศัยการประสานงานการมีส่วนร่วมของผู้นำชุมชน ภาคประชาชน ทำหน้าที่ในรูปแบบของการเฝ้าระวังและควบคุมโรคเชิงรุก คือ การควบคุมและกำจัดยุงลาย ซึ่งเป็นพาหะนำโรคโดยการทำลายแหล่งเพาะพันธ์ยุง การกำจัดยุง ทั้งกายภาพและเคมี รวมทั้งให้สุขศึกษา ประชาสัมพันธ์ให้ประชาชนมีความรู้ และเกิดทัศนคติที่ดี พร้อมทั้งมีส่วนร่วมในการควบคุมและป้องกันโรค ด้วยเหตุผลและความจำเป็นดังกล่าว ชมรมอสม.รพ.สต.น้ำเชี่ยว อำเภอสะบ้าย้อย จังหวัดสงขลา จึงได้จัดทำโครงการรวมพลัง อสม.รพ.สต.น้ำเชี่ยวควบคุมและป้องกันโรคติดต่อที่มียุงเป็นพาหะ ปี 2563 เพื่อสุขภาพและคุณภาพชีวิตที่ดีของประชาชนในพื้นที่ หมู่ที่ 4 และหมู่ที่ 7 ตำบลเขาแดง อำเภอสะบ้าย้อย จังหวัดสงขลา
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- เพื่อเฝ้าระวังโรคไข้เลือดออก โดยการสำรวจ ค่า Hl , Cl
กิจกรรม/การดำเนินงาน
- พ่นหมอกควัน
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้ | |
---|---|---|
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | ||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | ||
กลุ่มวัยทำงาน | ||
กลุ่มผู้สูงอายุ | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | ||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | 2,246 | |
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] |
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
- ทำให้ประชาชนในชุมชน มีความตระหนัก ความเข้าใจ เกี่ยวกับโรคที่มียุงเป็นพาหะและมีพฤติกรรมที่ถูกต้องเหมาะสม ต่อการป้องกันโรคดังกล่าว
- ประชาชนให้ความร่วมมือในการดำเนินการควบคุมและป้องกันโรคดังกล่าว
- ทำให้ประชาชนมีส่วนร่วมในการทำกิจกรรมทำลายแหล่งเพาะพันธ์ุยุงลายอย่างต่อเนื่องสม่ำเสมอทำให้สามารถลดแหล่งเพาะพันธุ์ลูกน้ำยุงลายภายในบ้าน ชุมชน โรงเรียนให้น้อยลง
- ประชาชนทั่วไป อสม. ครู นักเรียน มีส่วนร่วมในการป้องกันโรคที่มียุงเป็นพาหะ
- ประชาชนทั่วไป อสม. ครู นักเรียน มีความตระหนักในการป้องกันโรคที่มียุงเป็นพาหะเพิ่มขึ้น
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้ ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์** กิจกรรมของโครงการ | ผลผลิต* | |
---|---|---|
ผลผลิตที่ตั้งไว้ | ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง |
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ได้ดำเนินการพ่นหมอกควัน เพื่อกำจัดยุงพาหะที่มีเชื้อไข้เลือดออกและมาลาเรียในพื้นที่ หมู่่ที่ ๔ และหมู่ที่ ๗ ตำบลเขาแดง อำเภอสะบ้าย้อย จังหวัดสงขลา ตลอดจนพ่นยุงในโรงเรียน ตชด. ก่อนเปิดภาคเรียน ทำให้สามารถยับยั้งการระบาดของโรคไข้เลือดออกและมาลาเรียในพื้นที่ได้ ทำให้จำนวนผู้ป่วยลดลง ประชาชนเกิดความตระหนักให้ความสำคัญกับการเฝ้าระวังและกำจัดแหล่งเพาะพันธ์ุยุงมากขึ้น สังเกตจากการสำรวจค่า Hl , Cl ในพื้นที่ หมู่ที่ ๔ และหมู่ที่ ๗ ตำบลเขาแดง อำเภอสะบ้าย้อย จังหวัดสงขลา มีแนวโน้มลดลง
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ | สถานการณ์ | เป้าหมาย | ผลผลิต | อธิบาย | |
---|---|---|---|---|---|
1 | เพื่อเฝ้าระวังโรคไข้เลือดออก โดยการสำรวจ ค่า Hl , Cl ตัวชี้วัด : ในชุมชมลดแหล่งเพาะพันธ์ุลูกน้ำยุงลาย โดยให้มีบ้านที่พบลูกน้ำยุงลายไม่เกินร้อยละ |
10.00 |
|
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
---|---|---|---|
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด | 2246 | 2246 | |
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | |||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | - | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | - | ||
กลุ่มวัยทำงาน | - | ||
กลุ่มผู้สูงอายุ | - | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | |||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | - | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | - | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | - | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | 2,246 | 2,246 | |
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] | - |
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อเฝ้าระวังโรคไข้เลือดออก โดยการสำรวจ ค่า Hl , Cl
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) พ่นหมอกควัน
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค | สาเหตุ | ข้อเสนอแนะ |
---|---|---|
|
|
|
โครงการรวมพลังอสม.รพ.สต.น้ำเชี่ยว ป้องกันและควบคุมโรคติดต่อที่มียุงเป็นพาหะ ปี 2563 จังหวัด สงขลา
รหัสโครงการ 63-L5253-2-04
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
( นางสมทรง แวกาจิ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......