กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.เกาะสะท้อน


“ โครงการชาวเกาะสะท้อนรวมใจ ห่างไกลจากยาชุด ตำบลเกาะสะท้อน ”

ตำบลเกาะสะท้อน อำเภอตากใบ จังหวัดนราธิวาส

หัวหน้าโครงการ
นายอร่าม อะมีเราะ

ชื่อโครงการ โครงการชาวเกาะสะท้อนรวมใจ ห่างไกลจากยาชุด ตำบลเกาะสะท้อน

ที่อยู่ ตำบลเกาะสะท้อน อำเภอตากใบ จังหวัดนราธิวาส จังหวัด นราธิวาส

รหัสโครงการ 60-L2481-1-10 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 มีนาคม 2560 ถึง 30 กันยายน 2560


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการชาวเกาะสะท้อนรวมใจ ห่างไกลจากยาชุด ตำบลเกาะสะท้อน จังหวัดนราธิวาส" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลเกาะสะท้อน อำเภอตากใบ จังหวัดนราธิวาส

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.เกาะสะท้อน ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการชาวเกาะสะท้อนรวมใจ ห่างไกลจากยาชุด ตำบลเกาะสะท้อน



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการชาวเกาะสะท้อนรวมใจ ห่างไกลจากยาชุด ตำบลเกาะสะท้อน " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลเกาะสะท้อน อำเภอตากใบ จังหวัดนราธิวาส รหัสโครงการ 60-L2481-1-10 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 มีนาคม 2560 - 30 กันยายน 2560 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 8,800.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.เกาะสะท้อน เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

ในปัจจุบันพบว่าปัญหาเรื่องยาชุดเป็นประเด็นลำดับต้นๆ ที่หน่วยงานด้านสาธารณสุขจะต้องรีบดำเนินการแก้ไขเนื่องจากกลุ่มผู้สูงอายุส่วนใหญ่นิยมรับประทานยาชุดในการรักษาโรคที่ไม่รุนแรง ทำให้อาการทุเลาภายในระยะเวลาอันสั้น หลีกเลี่ยงการเสียเวลาในการไปตรวจรักษาในระบบโรคพยาบาล แต่ผลกระทบที่ตามมาจากการใช้ยาชุมคืออันตรายต่อร่างการในระยะยาว จากการที่เจ้าหน้าที่สาธารณสุขออกเยี่ยมบ้านผู้ป่วยโรคเรื้อยส่วนใหญ่พบว่ากลุ่มผู้ป่วยมีการใช้ยาชุดอยู่เป็นจำนวนมาก เนื่องจากผู้สูงอายุส่วนใหญ่ขาดความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับอันตรายจากการใช้ยาชุด จึงถูกผู้ประกอบการหัวใสคอยเอาเปรียบ โดยยาชุดส่วนใหญ่จะวางขายตามร้านขายของชำในชุมชน ซึ่งถือเป็นสินค้าที่สามารถหาซื้อได้ง่าย และให้ผลการรักษาที่รวดเร็วจึงเป็นที่นิยมของผู้สูงอายุที่ไม่ชอบไปรักษาที่โรงพยาบาลโดยยาชุดส่วนใหญ่จะมีส่วนผสมของสารสเตียรอยด์ ซึ่งเป็นอันตรายอย่างมากต่อร่างกาย การรับประทานยาชุดจะทาให้ผู้ป่วยได้รับปริมาณยาที่ไม่เหมาะสมพร่ำเพรื่อเกินความจำเป็น เมื่อรับประทานเป็นประจำจะทำให้เกิดการสะสมของยาภายในร่างกายซึ่งอาจทำให้เป็นมะเร็งในลำดับต่อไป การจะแก้ไขปัญหาดังกล่าวต้องอาศัยความร่วมมือของทุกฝ่ายไม่ว่าจะเป็นภาครัฐ และบุคคลในชุมชนที่จะต้องช่วยกันระวังไม่ให้ยาชุดเข้ามาสร้างอันตรายให้กับคนในชุมชนได้ รวมทั้งภาครัฐควรมีบทลงโทษที่เคร่งครัดกับผู้ประกอบการที่เอาเปรียบผู้บริโภคอย่างเร่งด่วน ด้วยเหตุผลดังกล่าวทางโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลเกาะสะท้อนจึงได้จัดทำโครงการ ชาวเกาะสะท้อนรวมใจ ห่างไกลจากยาชุด ขึ้น เพื่อให้ความรู้ความเข้าใจและสร้างความตระหนักเกี่ยวกับอันตรายจากการใช้ยาชุดในชุมชน รวมทั้งเป็นการสร้างภาคีเครือข่ายในการเฝ้าระวังเกี่ยวกับภัยจากยาชุด สิ่งเหล่านี้จะสามารถสร้างความเข้มแข็งทั้งด้านร่างกายและจิตใจให้กับคนในชุมชนได้อย่างยั่งยืนต่อไป

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. 1.เพื่อให้เกิดชุดข้อมูลสถานการณ์การใช้และขายยาชุดในชุมชนตำบลเกาะสะท้อน
  2. 2.เพื่อพัฒนากลไกการแก้ไข้ปัญหายาชุดของตำบลเกาะสะท้อน ประกอบดด้วย กลไกการเฝ้าระวัง กลไกการให้ความรู้แก่ผู้บริโภค ผู้ประกอบการ

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. กิจกรรมรณรงค์ตรวจคัดกรองโรคมะเร็งปากมดลูกและโรคมะเร็งเต้านม
  2. ปฏิบัติการชุมชนสำรวจการใช้ยาชุมในพื้นที่
  3. จัดทำสื่อประชาสัมพันธ์ไวนิล และโปสเตอร์เพื่อเผยแพร่ในชุมชน

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 40
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

1.เกิดภาคีเตรือข่ายเฝ้าระวังยาชุด เป็นไปในทิศทางเดียวกัน 2.ประชาชนปลอดภัยไม่มีการใช้ยาพวกสเตียรอยด์ในชุมชน


ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 1.เพื่อให้เกิดชุดข้อมูลสถานการณ์การใช้และขายยาชุดในชุมชนตำบลเกาะสะท้อน
ตัวชี้วัด : เกิดข้อมูลแผนที่ยาชุด (C0mbine drug Mapping) ในชุมชนตำบลเกาะสะท้อน ร้อยละ 90

 

2 2.เพื่อพัฒนากลไกการแก้ไข้ปัญหายาชุดของตำบลเกาะสะท้อน ประกอบดด้วย กลไกการเฝ้าระวัง กลไกการให้ความรู้แก่ผู้บริโภค ผู้ประกอบการ
ตัวชี้วัด : ผู้เข้าร่วมโครงการมีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับอันตรายจากการใช้ยาชุดเพิ่มขึ้น ร้อยละ 80

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 40
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 40
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) 1.เพื่อให้เกิดชุดข้อมูลสถานการณ์การใช้และขายยาชุดในชุมชนตำบลเกาะสะท้อน (2) 2.เพื่อพัฒนากลไกการแก้ไข้ปัญหายาชุดของตำบลเกาะสะท้อน ประกอบดด้วย กลไกการเฝ้าระวัง กลไกการให้ความรู้แก่ผู้บริโภค ผู้ประกอบการ

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) กิจกรรมรณรงค์ตรวจคัดกรองโรคมะเร็งปากมดลูกและโรคมะเร็งเต้านม (2) ปฏิบัติการชุมชนสำรวจการใช้ยาชุมในพื้นที่ (3) จัดทำสื่อประชาสัมพันธ์ไวนิล และโปสเตอร์เพื่อเผยแพร่ในชุมชน

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการชาวเกาะสะท้อนรวมใจ ห่างไกลจากยาชุด ตำบลเกาะสะท้อน จังหวัด นราธิวาส

รหัสโครงการ 60-L2481-1-10

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นายอร่าม อะมีเราะ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด