กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์


โครงการ
“ โครงการโรงเรียน ศูนย์พัฒนาเด็กเล็๋ก ปลอดภัยห่างไกลโรคติดต่อ ”
อำเภอเมืองสงขลา จังหวัดสงขลา



หัวหน้าโครงการ
(นางสาวเอมอร ไชยมงคล) ตำแหน่ง พยาบาลวิชาชีพชำนาญการพิเศษ




ชื่อโครงการ โครงการโรงเรียน ศูนย์พัฒนาเด็กเล็๋ก ปลอดภัยห่างไกลโรคติดต่อ

ที่อยู่ อำเภอเมืองสงขลา จังหวัดสงขลา จังหวัด สงขลา

รหัสโครงการ 63-L7250-01-5 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 กรกฎาคม 2563 ถึง 30 กันยายน 2563

กิตติกรรมประกาศ

"โครงการโรงเรียน ศูนย์พัฒนาเด็กเล็๋ก ปลอดภัยห่างไกลโรคติดต่อ จังหวัดสงขลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน อำเภอเมืองสงขลา จังหวัดสงขลา

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนหลักประกันสุขภาพ เทศบาลนครสงขลา ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการโรงเรียน ศูนย์พัฒนาเด็กเล็๋ก ปลอดภัยห่างไกลโรคติดต่อ



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการโรงเรียน ศูนย์พัฒนาเด็กเล็๋ก ปลอดภัยห่างไกลโรคติดต่อ " ดำเนินการในพื้นที่ อำเภอเมืองสงขลา จังหวัดสงขลา รหัสโครงการ 63-L7250-01-5 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 กรกฎาคม 2563 - 30 กันยายน 2563 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 15,000.00 บาท จาก กองทุนหลักประกันสุขภาพ เทศบาลนครสงขลา เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

ผู้ป่วยไข้เลือดออกจังหวัดสงขลา ปี 2562 มีจำนวน 419 ราย อยู่ในเขตอำเภอเมืองสงขลา จำนวน 113 ราย ข้อมูลผู้ป่วยไข้เลือดออกศูนย์บริการสาธารณสุขสระเกษ ปี 2560 - 2562 มีจำนวนผู้ป่วย19, 35 และ 26 รายตามลำดับ ผู้ป่วยส่วนใหญ่เป็นเด็กวัยเรียน อยู่ในกลุ่มอายุ 5 - 14 ปี และรองลงมาคือกลุ่มวัยทำงาน อายุ 15 - 34 ปี ซึ่งมาตรการการควบคุมโรคที่ได้ผลในขณะนี้ยังคงเป็นมาตรการการควบคุมยุงพาหะนำโรค ซึ่งเป็นการยากที่จะอาศัยเจ้าหน้าที่สาธารณสุขของรัฐเพียงฝ่ายเดียว ดังนั้นการที่จะให้ได้ผลอย่างเต็มที่จึงต้องอาศัยการมีส่วนร่วมของประชาชนทุกครัวเรือนร่วมกับเจ้าหน้าที่สาธารณสุขและผู้นำชุมชนช่วยกันป้องกันโรคดังกล่าวในหลากหลายรูปแบบ เช่น การรณรงค์ การร่วมมือกับโรงเรียน ด้วยวิธีการจัดหาสารฆ่าลูกน้ำ การพ่นหมอกควันและสารเคมี การกำจัดแหล่งเพาะพันธ์ลูกน้ำยุงลาย การใช้วิธีทางธรรมชาติในการกำจัดลูกน้ำ และสำคัญที่สุดคือการรู้จักป้องกันตนเองไม่ให้ถูกยุงกัด
ปัจจุบันสถานการณ์แพร่ระบาดของโรคติดต่อจากเชื้อไวรัสโคโรนา และโรคไข้เลือดออก ยังทวีความรุนแรงและมีผู้ป่วยมากขึ้น การป้องกันและควบคุมโรคจำเป็นต้องอาศัยความร่วมมือจากหลายภาคส่วน ศูนย์บริการสาธารณสุขสระเกษ เทศบาลนครสงขลา จึงได้จัดทำโครงการนี้ขึ้นเพื่อควบคุมและป้องกันโรคไข้เลือดออกล่วงหน้าและทันท่วงทีที่เกิดโรค

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. 1. เพื่อเผยแพร่ความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับการป้องกันและควบคุมโรคติดต่อ ในโรงเรียน
  2. ๒. เพื่อให้โรงเรียนสำรวจลูกน้ำยุงเป็นประจำ และได้ตระหนักในการจัดสภาพแวดล้อมให้เหมาะสมป้องกันการแพร่ระบาดของโรคติดต่อ

กิจกรรม/การดำเนินงาน

    กลุ่มเป้าหมาย

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
    กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
    กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
    กลุ่มวัยทำงาน
    กลุ่มผู้สูงอายุ
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
    กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
    กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
    กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
    กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
    สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

    ผลที่คาดว่าจะได้รับ

    1. เด็กนักเรียนในโรงเรียน มีความตระหนักและมีการกำจัดลูกน้ำยุงลายอย่างต่อเนื่อง
    2. เด็กนักเรียนในโรงเรียน มีส่วนร่วมในการเฝ้าระวังป้องกันโรคไข้เลือดออกและโรคติดต่ออื่นๆ
    3. ลดการแพร่ระบาดของโรคและลดอัตราป่วย/ของโรคไข้เลือดออก ในโรงเรียน

    ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

    วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
    ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
    กิจกรรมของโครงการ
    ผลผลิต*
    ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

    * ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
    ** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


    ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

    ผลการดำเนินโครงการ

    สรุปผลการดำเนินโครงการ

    ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
    บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
    บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
    ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

    1. ประชุมชี้แจงผู้เกี่ยวข้อง/คณะทำงานในชุมชนเพื่อชี้แจงรายละเอียดโครงการ รายละเอียดกิจกรรมและติดตามการดำเนินงานโครงการ
      1. จัดหา จัดเตรียม วัสดุอุปกรณ์ให้มีความพร้อมในการปฏิบัติงาน/ประสานหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง/ประชาสัมพันธ์กิจกรรมโครงการ ๓. แต่งตั้งคณะทำงานเฝ้าระวังป้องกันควบคุมโรคติดต่อในชุมชน (SRRT) ๔. ประสานหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง/ประชาสัมพันธ์กิจกรรมโครงการ ๕. รณรงค์และทำลายแหล่งเพาะพันธ์ลูกน้ำยุงลายใน โรงเรียน ๕ แห่ง และศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก 2 แห่ง พร้อมประชาสัมพันธ์เสียงตามสายในชุมชน/วิทยุชุมชนเทศบาลนครสงขลา/ประชาสัมพันธ์โรงเรียน
    2. คณะทำงานเฝ้าระวังป้องกันควบคุมโรคติดต่อในชุมชน (SRRT) ลงประเมินติดตามและสำรวจแหล่งเพาะพันธุ์ลูกน้ำยุงลายในโรงเรียน ศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก เดือนละ ๑ ครั้ง ค่า CI ในโรงเรียนแต่ละแห่ง ต้องเป็นศูนย์
    3. สรุปผลการดำเนินงาน

    ผลผลิตโครงการ

    วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
    1 1. เพื่อเผยแพร่ความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับการป้องกันและควบคุมโรคติดต่อ ในโรงเรียน
    ตัวชี้วัด : 1. จำนวนผู้ป่วยโรคไข้เลือดออกในโรงเรียน ลดลงจากปี 2562
    0.00 80.00

    กลุ่มแกนนำและนักเรียนในโรงเรียนมีส่วนร่วมเข้าร่วมกิจกรรมรณรงค์และทำลายแหล่งเพาะพันธ์ลูกน้ำยุงลายใน โรงเรียน ร้อยละ 80

    2 ๒. เพื่อให้โรงเรียนสำรวจลูกน้ำยุงเป็นประจำ และได้ตระหนักในการจัดสภาพแวดล้อมให้เหมาะสมป้องกันการแพร่ระบาดของโรคติดต่อ
    ตัวชี้วัด : 2. ค่าดัชนีความชุกลูกน้ำยุงลายในโรงเรียน โดยค่า HI ไม่เกิน 10
    0.00

    ค่า CI ร้อยละภาชนะที่สำรวจที่พบลูกน้ำยุงลายในโรงเรียนมีค่าเป็น ศูนย์

    ผู้เข้าร่วมโครงการ

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 0
    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
    กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
    กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
    กลุ่มวัยทำงาน -
    กลุ่มผู้สูงอายุ -
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
    กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
    กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
    กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
    กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
    สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

    บทคัดย่อ*

    โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) 1. เพื่อเผยแพร่ความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับการป้องกันและควบคุมโรคติดต่อ ในโรงเรียน (2) ๒. เพื่อให้โรงเรียนสำรวจลูกน้ำยุงเป็นประจำ และได้ตระหนักในการจัดสภาพแวดล้อมให้เหมาะสมป้องกันการแพร่ระบาดของโรคติดต่อ

    ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่

    ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

    หมายเหตุ *

    • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
    • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

    ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

    ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

     

     

     


    โครงการโรงเรียน ศูนย์พัฒนาเด็กเล็๋ก ปลอดภัยห่างไกลโรคติดต่อ จังหวัด สงขลา

    รหัสโครงการ 63-L7250-01-5

    ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

    ................................
    ( (นางสาวเอมอร ไชยมงคล) ตำแหน่ง พยาบาลวิชาชีพชำนาญการพิเศษ )
    ผู้รับผิดชอบโครงการ
    ......./............/.......

    vertical_align_topไปบนสุด