กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์


โครงการ
“ โครงการเยี่ยมบ้านผู้สูงอายุและผู้ป่วยติดเตียง ประจำปี 2563 ”
ตำบลคูหาใต้ อำเภอรัตภูมิ จังหวัดสงขลา



หัวหน้าโครงการ
นายประกอบ จันทสุวรรณ




ชื่อโครงการ โครงการเยี่ยมบ้านผู้สูงอายุและผู้ป่วยติดเตียง ประจำปี 2563

ที่อยู่ ตำบลคูหาใต้ อำเภอรัตภูมิ จังหวัดสงขลา จังหวัด สงขลา

รหัสโครงการ 63-L8402-2-10 เลขที่ข้อตกลง 10/2563

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 5 พฤษภาคม 2563 ถึง 30 กันยายน 2563

กิตติกรรมประกาศ

"โครงการเยี่ยมบ้านผู้สูงอายุและผู้ป่วยติดเตียง ประจำปี 2563 จังหวัดสงขลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลคูหาใต้ อำเภอรัตภูมิ จังหวัดสงขลา

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลคูหาใต้ ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการเยี่ยมบ้านผู้สูงอายุและผู้ป่วยติดเตียง ประจำปี 2563



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการเยี่ยมบ้านผู้สูงอายุและผู้ป่วยติดเตียง ประจำปี 2563 " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลคูหาใต้ อำเภอรัตภูมิ จังหวัดสงขลา รหัสโครงการ 63-L8402-2-10 ระยะเวลาการดำเนินงาน 5 พฤษภาคม 2563 - 30 กันยายน 2563 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 10,000.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลคูหาใต้ เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

ปัจจุบัน ประเทศไทยถือเป็นสังคมผู้สูงอายุ (Aging Society) ตามคำนิยามขององค์การสหประชาชาติเป็น ที่เรียบร้อยแล้ว นั่นคือ ประเทศไทยมีสัดส่วนผู้สูงอายุเกินร้อยละ 10 ของประชากรทั้งประเทศ โดยในปี พ.ศ. 2558 ประเทศไทยมีประชากรที่มีอายุสูงกว่า 60 ปีสูงถึงร้อยละ 15.6 ของประชากรทั้งประเทศ หรือ 10.42 ล้านคน และจะก้าวเข้าสู่การเป็นสังคมผู้สูงอายุโดยสมบูรณ์ (Completed Aged Society) เมื่อมีสัดส่วน ผู้สูงอายุมากกว่าร้อยละ 20 ในปี พ.ศ. 2563 ทั้งนี้ประเทศไทยจะก้าวสู่การเป็นสังคมสูงวัยระดับสุดยอด (Super Aged Society) ในปี พ.ศ. 2578 ซึ่งประชากรที่สูงอายุจะมีสัดส่วนมากกว่าร้อยละ 30 ของประชากรทั้งหมด นอกจากนี้จากข้อมูลการสำรวจการทำงานของผู้สูงอายุในประเทศไทยของสำนักงานสถิติแห่งชาติ ปี พ.ศ. 2558 ยังพบว่า ผู้สูงอายุชาวไทยที่ทำงานมีสัดส่วนอยู่ร้อยละ 36.3 หรือคิดเป็นแรงงานสูงอายุ จำนวน 3.78 ล้านคน และจากการลงพื้นที่ในปีงบประมาณ 2562 ที่ผ่านมา พบว่าผู้สูงอายุและผู้ป่วยติดเตียง ในเขตเทศบาลตำบลคูหาใต้ ส่วนใหญ่มีภาวะโภชนาการที่ไม่ดี มีสุขลักษณะที่ไม่เหมาะสม ขาดการดูแลสุขภาพที่ดีและมีความยากลำบากในการเข้ารับการรักษาพยาบาลจากสถานบริการ เนื่องจากสภาพครอบครัวที่มีสถานะทางการเงินในระดับปานกลางถึงยากจน ลูกหลานหรือผู้ดูแลต้องออกไปทำงานนอกบ้าน ทำให้ปัจจุบันผู้สูงอายุส่วนใหญ่ถูกทอดทิ้งให้อยู่เพียงลำพัง บางครั้งทำให้ผู้ป่วยมีการดำเนินของโรคมากยิ่งขึ้น และเกิดโรคแทรกซ้อนต่างๆ ซึ่งหากจัดให้มีการอบรมพัฒนาศักยภาพการดูแลผู้สูงอายุและผู้ป่วยติดเตียงสำหรับผู้ดูแลนั้น อาจไม่สามารถกระทำได้ทั้งหมดตามกลุ่มเป้าหมาย เนื่องจากไม่สามารถทอดทิ้งผู้สูงอายุและผู้ป่วยติดเตียงที่มีภาวะติดเตียงไว้เพียงลำพังได้ ดังนั้นการให้บริการส่งเสริมสุขภาพเชิงรุกแก่ผู้สูงอายุและผู้ป่วยติดเตียง โดยการเยี่ยมบ้านเพื่อติดตามและดูแลผู้สูงอายุที่มีภาวะติดเตียงและผู้ป่วยติดเตียง จึงมีความจำเป็นอย่างยิ่งที่หน่วยงานของรัฐและทีม สหวิชาชีพบุคลากรทางการแพทย์ต้องลงพื้นที่ให้บริการส่งเสริมสุขภาพเชิงรุกแก่ผู้สูงอายุที่มีภาวะติดเตียงในพื้นที่ เพื่อติดตามดูแลอาการเจ็บป่วย สุขอนามัยส่วนบุคคล สภาพแวดล้อมที่อยู่อาศัยของผู้ป่วยและผู้สูงอายุ เพื่อเป็นการเฝ้าระวังและป้องกันการเจ็บป่วย ซึ่งอาจลุกลามได้หรือเป็นสาเหตุก่อให้เกิดการเจ็บป่วย ประกอบกับอำนาจหน้าที่ของเทศบาลตามพระราชบัญญัติกำหนดแผนและขั้นตอนการกระจายอำนาจให้แก่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น มาตรา 16 ให้เทศบาล เมืองพัทยา และองค์การบริหารส่วนตำบล มีอำนาจและหน้าที่ในการจัดระบบการบริการสาธารณะเพื่อประโยชน์ของประชาชนในท้องถิ่นของตนเอง ตามข้อ (19) การสาธารณสุข การอนามัยครอบครัว และการรักษาพยาบาล     ดังนั้น กองสาธารณสุขและสิ่งแวดล้อมเทศบาลตำบลคูหาใต้ จึงได้จัดทำโครงการเยี่ยมบ้านผู้สูงอายุและผู้ป่วยติดเตียง ประจำปี 2563 ขึ้น เพื่อให้ผู้สูงอายุและผู้ป่วยติดเตียง ได้รับบริการด้านสาธารณสุขอย่างเหมาะสมทั่วถึงและต่อเนื่อง เพื่อให้บริการส่งเสริมสุขภาพเชิงรุก แก่ผู้สูงอายุและผู้ป่วยติดเตียงที่ด้อยโอกาส เพื่อเฝ้าระวังและป้องกันภาวะแทรกซ้อนจากการเจ็บป่วยจากโรคเรื้อรัง และเพื่อค้นหาปัญหาและส่งต่อข้อมูลให้กับหน่วยงานภาคีเครือข่ายของรัฐในการดำเนินงานบูรณาการแก้ไขปัญหาแบบองค์รวมโดยทีมสหวิชาชีพ ตลอดจนสามารถใช้ชีวิตประจำวันได้อย่างเป็นปกติที่สุด

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อให้ผู้สูงอายุและผู้ป่วยติดเตียงที่ด้อยโอกาส ได้รับบริการด้านสาธารณสุขอย่างเหมาะสมทั่วถึง
  2. เพื่อให้บริการส่งเสริมสุขภาพเชิงรุก แก่ผู้สูงอายุและผู้ป่วยติดเตียงที่ด้อยโอกาส
  3. เพื่อเฝ้าระวังและป้องกันภาวะแทรกซ้อนของการเจ็บป่วยจากโรคเรื้อรังของผู้สูงอายุและผู้ป่วยติดเตียงที่ด้อยโอกาส
  4. เพื่อค้นหาปัญหาและส่งต่เพื่อค้นหาปัญหาและส่งต่อข้อมูลให้กับหน่วยงานภาคีเครือข่ายของรัฐในการดำเนินงานบูรณาการแก้ไขปัญหาแบบองค์รวมโดยทีมสหวิชาชีพอข้อมูลให้กับหน่วยงานภาคีเครือข่ายของรัฐในการดำเนินงานบูรณาการแก้ไขปัญหาแบบองค์รวมโดยทีมสหวิชาชีพ

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. กิจกรรมการลงพื้นที่เยี่ยมบ้านผู้สูงอายุและผู้ป่วยติดเตียง

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ 27
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

๒. กลุ่มเป้าหมาย ได้รับการส่งเสริม และฟื้นฟูสมรรถภาพร่างกาย จิตใจ และอารมณ์ อย่างเหมาะสม        มีประสิทธิภาพส่งผลให้มีคุณภาพชีวิตที่ดีขึ้น ๓. กลุ่มเป้าหมายไม่ถูกทอดทิ้งได้รับการแก้ไขปัญหาเบื้องต้นและส่งต่อข้อมูลให้หน่วยงานภาคีเครือข่ายของรัฐในการดำเนินงานบูรณาการแก้ไขปัญหาแบบองค์รวมโดยทีมสหวิชาชีพบุคลากรทางการแพทย์ ๔. กลุ่มเป้าหมาย และผู้ดูแลมีขวัญกำลังใจและมีสุขภาพจิตที่ดี


ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เพื่อให้ผู้สูงอายุและผู้ป่วยติดเตียงที่ด้อยโอกาส ได้รับบริการด้านสาธารณสุขอย่างเหมาะสมทั่วถึง
ตัวชี้วัด : ผู้สูงอายุและผู้ป่วยติดเตียงที่ด้อยโอกาส (กลุ่มเป้าหมาย) ได้รับบริการตรวจสุขภาพเบื้องต้น ร้อยละ 100
100.00

 

2 เพื่อให้บริการส่งเสริมสุขภาพเชิงรุก แก่ผู้สูงอายุและผู้ป่วยติดเตียงที่ด้อยโอกาส
ตัวชี้วัด : ผู้สูงอายุและผู้ป่วยติดเตียงที่ด้อยโอกาส (กลุ่มเป้าหมาย) ได้รับบริการส่งเสริมสุขภาพเชิงรุก ร้อยละ 80
80.00

 

3 เพื่อเฝ้าระวังและป้องกันภาวะแทรกซ้อนของการเจ็บป่วยจากโรคเรื้อรังของผู้สูงอายุและผู้ป่วยติดเตียงที่ด้อยโอกาส
ตัวชี้วัด : ผู้สูงอายุและผู้ป่วยติดเตียงที่ด้อยโอกาส (กลุ่มเป้าหมาย) ลดภาวะแทรกซ้อนจากการเจ็บป่วยด้วยโรคเรื้อรังของผู้สูงอายุและผู้ป่วยติดเตียงที่ด้อยโอกาส ร้อยละ 80
80.00

 

4 เพื่อค้นหาปัญหาและส่งต่เพื่อค้นหาปัญหาและส่งต่อข้อมูลให้กับหน่วยงานภาคีเครือข่ายของรัฐในการดำเนินงานบูรณาการแก้ไขปัญหาแบบองค์รวมโดยทีมสหวิชาชีพอข้อมูลให้กับหน่วยงานภาคีเครือข่ายของรัฐในการดำเนินงานบูรณาการแก้ไขปัญหาแบบองค์รวมโดยทีมสหวิชาชีพ
ตัวชี้วัด : ทราบถึงปัญหาด้านสุขภาพของผู้สูงอายุและผู้ป่วยติดเตียง ร้อยละ 90
90.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 27
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ 27
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อให้ผู้สูงอายุและผู้ป่วยติดเตียงที่ด้อยโอกาส ได้รับบริการด้านสาธารณสุขอย่างเหมาะสมทั่วถึง (2) เพื่อให้บริการส่งเสริมสุขภาพเชิงรุก แก่ผู้สูงอายุและผู้ป่วยติดเตียงที่ด้อยโอกาส (3) เพื่อเฝ้าระวังและป้องกันภาวะแทรกซ้อนของการเจ็บป่วยจากโรคเรื้อรังของผู้สูงอายุและผู้ป่วยติดเตียงที่ด้อยโอกาส (4) เพื่อค้นหาปัญหาและส่งต่เพื่อค้นหาปัญหาและส่งต่อข้อมูลให้กับหน่วยงานภาคีเครือข่ายของรัฐในการดำเนินงานบูรณาการแก้ไขปัญหาแบบองค์รวมโดยทีมสหวิชาชีพอข้อมูลให้กับหน่วยงานภาคีเครือข่ายของรัฐในการดำเนินงานบูรณาการแก้ไขปัญหาแบบองค์รวมโดยทีมสหวิชาชีพ

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) กิจกรรมการลงพื้นที่เยี่ยมบ้านผู้สูงอายุและผู้ป่วยติดเตียง

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการเยี่ยมบ้านผู้สูงอายุและผู้ป่วยติดเตียง ประจำปี 2563 จังหวัด สงขลา

รหัสโครงการ 63-L8402-2-10

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นายประกอบ จันทสุวรรณ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด