กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.กาหลง


“ โครงการชาเพื่อสุขภาพของผู้สูงอายุ ”

ตำบลกาหลง อำเภอศรีสาคร จังหวัดนราธิวาส

หัวหน้าโครงการ
นางพิน บุญล้อม

ชื่อโครงการ โครงการชาเพื่อสุขภาพของผู้สูงอายุ

ที่อยู่ ตำบลกาหลง อำเภอศรีสาคร จังหวัดนราธิวาส จังหวัด นราธิวาส

รหัสโครงการ 63-L2524-2-0018 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 10 กรกฎาคม 2563 ถึง 11 กรกฎาคม 2563


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการชาเพื่อสุขภาพของผู้สูงอายุ จังหวัดนราธิวาส" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลกาหลง อำเภอศรีสาคร จังหวัดนราธิวาส

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.กาหลง ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการชาเพื่อสุขภาพของผู้สูงอายุ



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการชาเพื่อสุขภาพของผู้สูงอายุ " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลกาหลง อำเภอศรีสาคร จังหวัดนราธิวาส รหัสโครงการ 63-L2524-2-0018 ระยะเวลาการดำเนินงาน 10 กรกฎาคม 2563 - 11 กรกฎาคม 2563 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 20,000.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.กาหลง เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

ปัจจุบันนี้การเป็นไข้หวัดหรือป่วยเป็นสาเหตุสำคัญของมนุษย์ทั้งโลก เพราะอาจจะทำให้ร่างกายของเราทรุดโทรมในการใช้ชีวิตประจำวันไม่สะดวกสบาย เนื่องจากในสังคมของเราในขณะนี้มีเชื้อโรคและสิ่งที่เป็นพิษแปลกปลอมมาเป็นจำนวนมาก ทั้งสิ่งแวดล้อมและบรรยากาศในสมัยน้ำไม่เอื้ออำนวยในการปฏิบัติตัวละการใช้ชีวิตของมนุษย์และอีกหลายๆอย่างและอีกหลายปัจจัยวิธีแก้ไขปัญหาการป่วยไข้ด้วยวิธีธรรมชาตินั้นคือสมุนไพร “น้ำขิง” เนื่องจากในสมัยนี้ในประเทศและสังคมของเรามีวัฒนธรรมและสิ่งต่างๆที่ปะปนและเผยแพร่มาจากประเทศเพื่อนบ้านและต่างชาติจึงทำให้การดูแลรักษาผู้ป่วยของไทยหายไป ทั้งสิ่งของและวิธีการรักษาผู้ป่วยด้วยวิธีต่างๆ ซึ่งก็มียาปฏิชีวนะ ที่สามารถรักษาอาการไข้ของผู้คนที่ไม่สบายได้ เมื่อรับประทานเข้าไปได้ผลอย่างรวดเร็ว แต่ก็เช่นเดียวกันเมื่อมีข้อดีแล้วข้อเสียของย่ายา เกิดการกดภูมิต้านทานของร่างกายรบกวนการทำงานของยาชนิดอื่นและอีกมากมาย ซึ่งเป็นอันตรายต่อร่างกายเป็นอย่างมาก ดังนั้นน้ำขิงที่เป็นสมุนไพรธรรมชาติและหาได้ง่ายในตามบ้านเรือนของเราเองก็สามารถรักษาอาการเป็นไข้หวัดได้ ซึ่งไม่เป็นอันตรายของเราแถมยังสามารถอาการได้อย่างหายขาดไม่เรื้อรังได้ และมิใช่ว่าน้ำขิงมารักษาอาการไข้หวัดอย่างเดียวน้ำขิงเป็นสมุนไพรที่รับประทายแล้วไม่เป็นอันตรายแล้วยังทำให้ชุ่มคอเมื่อรับประทานเข้าไป ละอีกหลายๆสรรพคุณที่สามารถไปรักษาลื้นฟูร่างกายของเราได้อีกมากมาย
ด้วยกลุ่มผู้สูงอายุบ้านสายบน มีความประสงค์จะจัดทำแผนงานโครงการชาเพื่อสุขภาพของผู้สูงอายุ ในปีงบประมาณพ.ศ. 2563 โดยขอรับการสนับสนุนงบประมาณจากกองทุนหลักประกันสุขภาพในระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่ อบต.กาหลง เป็นเงิน 15,000 บาท โดยมีรายละเอียดกิจกรรม ดังนี้

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อนำเสนอวิธีการรักษาอาการเป็นไข้หวัดและประโยชน์ของสนุนไพรน้ำขิง
  2. เพื่อให้คนสังคมและทุกๆคนได้เปลี่ยนทัศคติและวิธีการรักษาอาการเป็นไข้หวัดอย่างปลอดภัย
  3. เพื่อบอกถึงสรรพคุณสมุนไพรในบ้านที่บางคนไม่รู้ถึงการรักษาพื้นบ้าน

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. อบรมชาเพื่อสุขภาพของผู้สูงอายุ

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ 50
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

๑.ประชาชนมีสุขภาพที่ดี
๒.ประชาชนยึดหลักเศรษฐกิจพอเพียงในการดำเนินชีวิต
๓.ประชาชนมีความสามัคคีและใช้เวลาว่างให้เกิดประโยชน์


ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เพื่อนำเสนอวิธีการรักษาอาการเป็นไข้หวัดและประโยชน์ของสนุนไพรน้ำขิง
ตัวชี้วัด : จำนวนประชาชนร้อยละ90 ได้รับการดูแลสุขภาพที่ดี
100.00 1.00

 

2 เพื่อให้คนสังคมและทุกๆคนได้เปลี่ยนทัศคติและวิธีการรักษาอาการเป็นไข้หวัดอย่างปลอดภัย
ตัวชี้วัด : ประชาชนรู้จักการใช้สมุนไพรในการดูแลสุขภาพ
50.00 1.00

 

3 เพื่อบอกถึงสรรพคุณสมุนไพรในบ้านที่บางคนไม่รู้ถึงการรักษาพื้นบ้าน
ตัวชี้วัด : ประชาชนได้รู้จักการดูแลสุขภาพด้วยสมุนไพร
50.00 1.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 50
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ 50
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อนำเสนอวิธีการรักษาอาการเป็นไข้หวัดและประโยชน์ของสนุนไพรน้ำขิง (2) เพื่อให้คนสังคมและทุกๆคนได้เปลี่ยนทัศคติและวิธีการรักษาอาการเป็นไข้หวัดอย่างปลอดภัย (3) เพื่อบอกถึงสรรพคุณสมุนไพรในบ้านที่บางคนไม่รู้ถึงการรักษาพื้นบ้าน

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) อบรมชาเพื่อสุขภาพของผู้สูงอายุ

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการชาเพื่อสุขภาพของผู้สูงอายุ จังหวัด นราธิวาส

รหัสโครงการ 63-L2524-2-0018

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นางพิน บุญล้อม )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด