กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์


โครงการ
“ ด้วยรักและใส่ใจสุขภาพ (Health and Healthy Care) โรงเรียนเพียงหลวง 4ฯ ”
ตำบลแหลมสน อำเภอละงู จังหวัดสตูล



หัวหน้าโครงการ
โรงเรียนเพียงหลวง 4 ในทูลกระหม่อมหญิงอุบลรัตนราชกัญญา สิริวัฒนาพรรณวดี




ชื่อโครงการ ด้วยรักและใส่ใจสุขภาพ (Health and Healthy Care) โรงเรียนเพียงหลวง 4ฯ

ที่อยู่ ตำบลแหลมสน อำเภอละงู จังหวัดสตูล จังหวัด สตูล

รหัสโครงการ 2563 – L5314 - 2 – 02 เลขที่ข้อตกลง 09/2563

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 กรกฎาคม 2563 ถึง 30 ธันวาคม 2563

กิตติกรรมประกาศ

"ด้วยรักและใส่ใจสุขภาพ (Health and Healthy Care) โรงเรียนเพียงหลวง 4ฯ จังหวัดสตูล" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลแหลมสน อำเภอละงู จังหวัดสตูล

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.แหลมสน ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
ด้วยรักและใส่ใจสุขภาพ (Health and Healthy Care) โรงเรียนเพียงหลวง 4ฯ



บทคัดย่อ

โครงการ " ด้วยรักและใส่ใจสุขภาพ (Health and Healthy Care) โรงเรียนเพียงหลวง 4ฯ " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลแหลมสน อำเภอละงู จังหวัดสตูล รหัสโครงการ 2563 – L5314 - 2 – 02 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 กรกฎาคม 2563 - 30 ธันวาคม 2563 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 30,000.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.แหลมสน เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

การพัฒนาคุณภาพชีวิตของประชาชนเป็นเป้าหมายสำคัญของการพัฒนาประเทศโดยกระทรวงสาธารณสุขได้กำหนดแนวทางการดำเนินงานเพื่อให้ประชาชนมีสุขภาวะ (well-being) ทั้งมิติทางกาย ใจ สังคม และปัญญา (จิตวิญญาณ) และมิติของคนครอบครัว ชุมชน และสังคมมากขึ้น โดยเริ่มจากวัยต้นของชีวิต คือวัยเด็กซึ่งเป็นวัยที่มีความสำคัญเนื่องจากเป็นวัยที่มีการพัฒนาอย่างรวดเร็วทั้งทางด้านร่างกาย สติปัญญาอารมณ์ สังคม และเป็นวัยที่เริ่มต้นการรับรู้เพื่อเป็นพื้นฐานของช่วงวัยต่อไป

จากข้อมูลภาวะโภชนาการ ในปีการศึกษา 2562 นักเรียนโรงเรียนเพียงหลวง 4 ในทูลกระหม่อมหญิงอุบลรัตนราชกัญญา สิริวัฒนาพรรณวดี จำนวน 26 คน พบเด็กที่มีปัญหาภาวะทุพโภชนาการ จำนวน 10 คน คิดเป็นร้อยละ 38.46 ซึ่งปัญหาภาวะทุพโภชนาการนี้ อาจส่งผลต่อพัฒนาการทางด้านสติปัญญา อารมณ์จิตใจและสังคมตามมาจำเป็นต้องมีการส่งเสริมและพัฒนาเด็กให้มีพัฒนาการที่สมวัยในทุกด้านของชีวิตการดำเนินงานแก้ไขปัญหาและส่งเสริมพัฒนาการเด็กโดยเจ้าหน้าที่เพียงฝ่ายเดียวไม่สามารถแก้ปัญหาให้ลดน้อยหรือหมดไปได้สิ่งสำคัญจะต้องมีการให้ความรู้แก่พ่อแม่ผู้เลี้ยงดูเด็กและส่งเสริมให้ครอบครัวและชุมชนเข้ามามีส่วนร่วมในการส่งเสริมพัฒนาการของเด็ก และปัจจุบันเกิดสถานการณ์การระบาดของโรคไวรัสโคโรนา 2019 (COVID -19) จำเป็นต้องมีการดำเนินการเฝ้าระวังป้องกันตนเองให้กับประชาชน นักเรียน ครู และบุคลากรทางการศึกษา ในโรงเรียน

จากสภาพปัญหาดังกล่าว โรงเรียนเพียงหลวง 4 ในทูลกระหม่อมหญิงอุบลรัตนราชกัญญา สิริวัฒนาพรรณวดีจึงได้จัดทำโครงการด้วยรักและใส่ใจสุขภาพ (Health and Healthy Care)ขึ้นเพื่อแก้ไขปัญหา เฝ้าระวังภาวะทุพโภชนาการเด็ก และจากการระบาดของโรคไวรัสโคโรนา 2019 (COVID -19) ส่งเสริมสร้างความตระหนักให้ครอบครัวและชุมชนได้มีส่วนร่วมในการแก้ไขปัญหาและพัฒนางานด้านสาธารณสุขอย่างต่อเนื่อง

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อเฝ้าระวังและติดตามโภชนาการเด็กที่เสี่ยงต่อการมีภาวะปัญหาภาวะโภชนาการ
  2. เพื่อให้ครู ผู้ปกครองและนักเรียนมีความรู้ และความเข้าใจในเรื่องการดูแลสุขภาพร่างกาย ไม่ให้เกิดภาวะทุพโภชนาการ
  3. เพื่อให้ผู้ปกครองและนักเรียน มีความรู้ ความเข้าใจในเรื่องการออกกำลังกายที่ถูกต้องเพื่อเสริมสร้างสมรรถภาพทางกาย
  4. เพื่อเสริมสร้างความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับโรคติดเชื้อไวรัสโควิด (COVID-19) และการเฝ้าระวังควบคุมการป้องกันโรคติดเชื้อไวรัสโควิด (COVID-19)

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. เฝ้าระวังและติดตามภาวะโภชนาการ
  2. ให้ความรู้เรื่องภาวะโภชนาการในเด็ก 3-12 ปี ให้แก่ครู ผู้ปกครอง
  3. ติดตามเด็กที่ภาวะโภชนาการ
  4. ส่งเสริมพัฒนาการ/การออกกำลังกายและเพิ่มกิจกรรมทางกายให้แก่นักเรียน
  5. มีการตรวจคัดกรองและเฝ้าระวังโรคโควิด- 19
  6. รายงานผลโครงการและแลกเปลี่ยนเรียนรู้ จำนวน 2 ครั้ง

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 27
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
ครู 10
ผู้ปกครอง 21

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

  1. เด็กนักเรียนได้รับการเฝ้าระวังภาวะโภชนาการตามเป้าหมาย

  2. ปัญหาภาวะทุพโภชนาการในเด็กนักเรียนลดลง

  3. นักเรียน ครู ผู้ปกครองเด็กมีความรู้ด้านโภชนาการในเด็กวัยเรียน

  4. มีการตรวจคัดกรองและเฝ้าระวังโรคโควิด -19 เพื่อเฝ้าระวังควบคุมการป้องกันโรคติดเชื้อไวรัสโควิด (COVID -19)


ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เพื่อเฝ้าระวังและติดตามโภชนาการเด็กที่เสี่ยงต่อการมีภาวะปัญหาภาวะโภชนาการ
ตัวชี้วัด : 1.ร้อยละ 100 มีการเฝ้าระวังและติดตามภาวะโภชนาการ
0.00

 

2 เพื่อให้ครู ผู้ปกครองและนักเรียนมีความรู้ และความเข้าใจในเรื่องการดูแลสุขภาพร่างกาย ไม่ให้เกิดภาวะทุพโภชนาการ
ตัวชี้วัด : 1.ร้อยละ 90 ของครูผู้ปกครอง มีความรู้เรื่องภาวะโภชนาการ 2.ร้อยละ 90 ของผู้ปกครองและนักเรียนมีการเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมในเรื่องภาวะโภชนาการ
0.00

 

3 เพื่อให้ผู้ปกครองและนักเรียน มีความรู้ ความเข้าใจในเรื่องการออกกำลังกายที่ถูกต้องเพื่อเสริมสร้างสมรรถภาพทางกาย
ตัวชี้วัด : 1.ร้อยละ90 ของผู้ปกครองและนักเรียนมีความเข้าใจในเรื่องการออกกำลังกายที่ถูกต้องเพื่อเสริมสร้างสมรรถภาพทางกาย 2.ร้อยละ90 ของผู้ปกครองและนักเรียนมีการเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมในเรื่อง การออกกำลังกายที่ถูกต้องเพื่อเสริมสร้างสมรรถภาพทางกาย
0.00

 

4 เพื่อเสริมสร้างความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับโรคติดเชื้อไวรัสโควิด (COVID-19) และการเฝ้าระวังควบคุมการป้องกันโรคติดเชื้อไวรัสโควิด (COVID-19)
ตัวชี้วัด : ร้อยละ 90 ของนักเรียน ผู้ปกครอง ครูและบุคลากรทางการศึกษา มีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับโรคติดเชื้อไวรัสโควิด(COVID-19)และการเฝ้าระวังควบคุมการป้องกันโรคติดเชื้อไวรัสโควิด (COVID-19)
0.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 58
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 27
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -
ครู 10
ผู้ปกครอง 21

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อเฝ้าระวังและติดตามโภชนาการเด็กที่เสี่ยงต่อการมีภาวะปัญหาภาวะโภชนาการ (2) เพื่อให้ครู ผู้ปกครองและนักเรียนมีความรู้ และความเข้าใจในเรื่องการดูแลสุขภาพร่างกาย ไม่ให้เกิดภาวะทุพโภชนาการ (3) เพื่อให้ผู้ปกครองและนักเรียน มีความรู้ ความเข้าใจในเรื่องการออกกำลังกายที่ถูกต้องเพื่อเสริมสร้างสมรรถภาพทางกาย (4) เพื่อเสริมสร้างความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับโรคติดเชื้อไวรัสโควิด  (COVID-19) และการเฝ้าระวังควบคุมการป้องกันโรคติดเชื้อไวรัสโควิด (COVID-19)

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) เฝ้าระวังและติดตามภาวะโภชนาการ (2) ให้ความรู้เรื่องภาวะโภชนาการในเด็ก 3-12 ปี ให้แก่ครู  ผู้ปกครอง (3) ติดตามเด็กที่ภาวะโภชนาการ (4) ส่งเสริมพัฒนาการ/การออกกำลังกายและเพิ่มกิจกรรมทางกายให้แก่นักเรียน (5) มีการตรวจคัดกรองและเฝ้าระวังโรคโควิด- 19 (6) รายงานผลโครงการและแลกเปลี่ยนเรียนรู้ จำนวน 2 ครั้ง

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


ด้วยรักและใส่ใจสุขภาพ (Health and Healthy Care) โรงเรียนเพียงหลวง 4ฯ จังหวัด สตูล

รหัสโครงการ 2563 – L5314 - 2 – 02

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( โรงเรียนเพียงหลวง 4 ในทูลกระหม่อมหญิงอุบลรัตนราชกัญญา สิริวัฒนาพรรณวดี )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด