กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.บ่อหิน


“ โครงการพัฒนาศักยภาพทีมสอบสวนเคลื่อนที่เร็วในการควบคุมป้องกันโรคระดับตำบล (SRRT) ”

ตำบลบ่อหิน อำเภอสิเกา จังหวัดตรัง

หัวหน้าโครงการ
นายวิรัช สันคง

ชื่อโครงการ โครงการพัฒนาศักยภาพทีมสอบสวนเคลื่อนที่เร็วในการควบคุมป้องกันโรคระดับตำบล (SRRT)

ที่อยู่ ตำบลบ่อหิน อำเภอสิเกา จังหวัดตรัง จังหวัด ตรัง

รหัสโครงการ เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 มีนาคม 2563 ถึง 30 กันยายน 2563


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการพัฒนาศักยภาพทีมสอบสวนเคลื่อนที่เร็วในการควบคุมป้องกันโรคระดับตำบล (SRRT) จังหวัดตรัง" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลบ่อหิน อำเภอสิเกา จังหวัดตรัง

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.บ่อหิน ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการพัฒนาศักยภาพทีมสอบสวนเคลื่อนที่เร็วในการควบคุมป้องกันโรคระดับตำบล (SRRT)



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการพัฒนาศักยภาพทีมสอบสวนเคลื่อนที่เร็วในการควบคุมป้องกันโรคระดับตำบล (SRRT) " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลบ่อหิน อำเภอสิเกา จังหวัดตรัง รหัสโครงการ ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 มีนาคม 2563 - 30 กันยายน 2563 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 10,000.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.บ่อหิน เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

กรมควบคุมโรคได้สนับสนุนนโยบายกระทรวงสาธารณสุขในการจัดทำโครงการอำเภอป้องกันควบคุมโรคเข้มแข็งแบบยั่งยืน เพื่อพัฒนางานเฝ้าระวัง ป้องกันควบคุมโรคอย่างเป็นระบบทั้งอำเภอ ตำบล หมู่บ้านและชุมชน ซึ่งการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ การสร้างเครือข่ายทีมเฝ้าระวังสอบสวนเคลื่อนที่เร็ว(SRRT) ในแต่ละอำเภอให้เข้มแข็ง มีทีม SRRT ระดับอำเภอเป็นศูนย์กลางเฝ้าระวังสอบสวน ควบคุมโรค และพัฒนาทีม SRRT เครือข่ายระดับตำบลให้ทำงานประสานเชื่อมโยงกันโดยมีบทบาทหลักในการเฝ้าระวังเหตุการณ์ความผิดปกติของโรคภัยในชุมชนและดำเนินกิจกรรมเบื้องต้นในการควบคุมโรค ทั้งนี้โรงพยาบาลสิเกาจะเป็นแกนหลักและมีอาสาสมัครสาธารณสุขเป็นกำลังสำคัญร่วมกับองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ซึ่งทีมเครือข่ายระดับตำบลสามารถสามารถตรวจจับความผิดปกติได้เร็วเหตุการณ์หรือการระบาดยังอยู่ในระดับเริ่มต้น ทำให้สามารถควบคุมโรคได้ง่าย มีประสิทธิภาพและสามารถลดการสูญเสียต่างๆได้มาก สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดตรังได้กำหนดใ้มีผลการดำเนินงานอำเภอป้องกันควบคุมโรคเข้มแข็งแบบยั่งยืน ซึ่งต้องผ่านเกณฑ์อำเภอป้องกันควบคุมโรคเข้มแข็งแบบยั่งยืนในปี 2562 งานเฝ้าระวัง สอบสวนและควบคุมโรคมีความสำคัญต่อระบบการป้องกันควบคุมโรคของประเทศ และจังหวัด โดยทีม SRRT (Surveillance and Rapid Response Team) เป็นทีมเฝ้าระวังเคลื่อนที่เร็วประจำหน่วยงานสาธารณสุขที่มีพื้นที่รับผิดชอบในการป้องกัน ควบคุมโรคซึ่งในด้านสมรรถนะบุคคลเคยมีคำกล่าวว่า"เจ้าหน้าที่สาธารณสุขทุกคนต้องใช้ระบาดวิทยาในการปฏิบัติงาน แต่ในด้านสมรรถนะขององค์กร อาจกล่าวได้ว่าหน่วยงานมีหน้าที่ป้องกันและควบคุมโรค ต้องมีทีมเฝ้าระวังสอบสวนเคลื่อนที่เร็ว (SRRT) เนื่องจากภสวะฉุกเฉินทางสาธารณสุข (Public Health emergency) ที่มีมากทั้งในด้านขนาด ความถี่และความรุนแรงรวมถึงขีดความสามารถในการแพร่กระจายปัญหาไปยังพื้นที่อื่นๆทุกพื้นที่จึงมีความจำเป็นต้องมีทีมงานเผ้าสอยระวังปัญหา และสามารถสนองตอบได้อย่างรวดเร็วและมีประสิทธิภาพ หน่วยงานที่รับผิดชอบในพื้นที่ได้แก่ หน่วยงานสาธารณสุขทุกระดับและองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น โดยหากพื้นที่มีทีม (SRRT) ไม่เข้มแข็งอาจจะเป็นจุดอ่อนของการป้องกันและควบคุมโรคและอาจเป็นต้นเหตุให้ทวีความรุนแรงมากขึ้นได้   อำเภอสิเกาโโยเครือข่ายบริการสาธารณสุขอำเภอสิเกาได้ให้ความสำคัญในการพัฒนาทีมเฝ้าระวังสอบสวนเคลื่อนที่เร็ว(SRRT) ระดับอำเภอและเครือข่ายระดับตำบล เพื่อดำเนินการตอบสนองนโยบายของกระทรวงสาธารณสุขและเพื่อพัฒนาศักยภาพการป้องกันควบคุมโรคและภัยสุขภาพระดับอำเภอให้เข็มแข็งแบบยั่งยืนทั้งในด้านการบริหารจัดการ ด้านบุคลากร มีการวางแผนและการดำเนินการตามแผน มีการระดมทุน มีระบาดวิทยาที่ดี ส่งผลให้เกิดความสำเร็จในการป้องกันและควบคุมโรคอย่างมีประสิทธิภาพ และทันเหตุการณ์ โรงพยาบาลสิเกาจึงได้จัดทำโครงการพัฒนาศักยภาพทีมสอบสวนเคลื่อนที่เร็ว(SRRT)ในการควบคุมโรคระดับตำบลเพื่อให้สามารถดำเนินการแก้ไขปัญหาโรคและภัยสุขภาพในตำบลบ่อหิน โดยขอรับการสนับสนุนงบประมาณจากกองทุนหลักประกันสุขภาพ อบต.บ่อหิน

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อพัฒนาศักยภาพทีมสอบสวนเคลื่อนที่เร็ว SRRT ให้มีศักยภาพในการควบคุมป้องกันโรคติดต่อในตำบลบ่อหิน (โรคไข้เลือดออก มือเท้าปาก)

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. จัดอบรมให้ความรู้และการป้องกันเกี่ยวกับโรคติดต่อในชุมชน เช่นไข้เลือดออก อุจาระร่วง มือเท้าปาก ฝึกปฏิบัติการใช้เครื่องพ่นหมอกควัน

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน 40
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

1 ทีมสอบสวนเคลื่อนที่เร็ว SRRT สามารถสอบสวนโรคได้อย่างมีประสิทธิภาพ 2 ทีมสอบสวนเคลื่อนที่เร็ว SRRT สามารถควบคุมโรคได้อย่างรวดเร็วและทันท่วงที 3 ทีมสอบสวนเคลื่อนที่เร็ว SRRT มีความเข้มแข็งในการควบคุมโรคและยั่งยืนและต่อเนื่อง


ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

1. จัดอบรมให้ความรู้และการป้องกันเกี่ยวกับโรคติดต่อในชุมชน เช่นไข้เลือดออก อุจาระร่วง มือเท้าปาก ฝึกปฏิบัติการใช้เครื่องพ่นหมอกควัน และจัดตั้งทีมสอบสวนเคลื่อนที่เร็วตำบลบ่อหิน

วันที่ 21 สิงหาคม 2563

กิจกรรมที่ทำ

จัดอบรมให้ความรู้และการป้องกันเกี่ยวกับโรคติดต่อในชุมชน เช่นไข้เลือดออก อุจาระร่วง มือเท้าปาก ฝึกปฏิบัติการใช้เครื่องพ่นหมอกควัน และจัดตั้งทีมสอบสวนเคลื่อนที่เร็วตำบลบ่อหิน

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ทีมสอบสวนเลื่อนที่เร็วตำบลบ่อหิน ความรู้และการป้องกันเกี่ยวกับโรคติดต่อในชุมชน เช่นไข้เลือดออก อุจาระร่วง มือเท้าปาก และสามารถปฏิบัติการใช้เครื่องพ่นหมอกควัน และมีทีมสอบสวนเคลื่อนที่เร็วตำบลบ่อหิน

 

40 0

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เพื่อพัฒนาศักยภาพทีมสอบสวนเคลื่อนที่เร็ว SRRT ให้มีศักยภาพในการควบคุมป้องกันโรคติดต่อในตำบลบ่อหิน (โรคไข้เลือดออก มือเท้าปาก)
ตัวชี้วัด : มีทีทสอบสวนเคลื่อนที่เร็วจำนวน 1 ทีมในชุมชน
90.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 40
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน 40
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อพัฒนาศักยภาพทีมสอบสวนเคลื่อนที่เร็ว SRRT ให้มีศักยภาพในการควบคุมป้องกันโรคติดต่อในตำบลบ่อหิน (โรคไข้เลือดออก มือเท้าปาก)

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) จัดอบรมให้ความรู้และการป้องกันเกี่ยวกับโรคติดต่อในชุมชน เช่นไข้เลือดออก อุจาระร่วง มือเท้าปาก ฝึกปฏิบัติการใช้เครื่องพ่นหมอกควัน

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการพัฒนาศักยภาพทีมสอบสวนเคลื่อนที่เร็วในการควบคุมป้องกันโรคระดับตำบล (SRRT) จังหวัด ตรัง

รหัสโครงการ

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นายวิรัช สันคง )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด