โครงการเฝ้าระวังกลุ่มเสี่ยง เลี่ยงวัณโรค ประจำปี 2563
แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์
รายงานฉบับสมบูรณ์
โครงการ
“ โครงการเฝ้าระวังกลุ่มเสี่ยง เลี่ยงวัณโรค ประจำปี 2563 ”
ตำบลหนองปรือ อำเภอรัษฏา จังหวัดตรัง
หัวหน้าโครงการ
นางสาวจิตติมา สังข์สุวรรณ
ได้รับการสนับสนุนโดย กองทุนหลักประกันสุขภาพองค์การบริหารส่วนตำบลหนองปรือ
กันยายน 2563
ชื่อโครงการ โครงการเฝ้าระวังกลุ่มเสี่ยง เลี่ยงวัณโรค ประจำปี 2563
ที่อยู่ ตำบลหนองปรือ อำเภอรัษฏา จังหวัดตรัง จังหวัด ตรัง
รหัสโครงการ 63 -L1515-01– 07 เลขที่ข้อตกลง 026/2563
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 สิงหาคม 2563 ถึง 15 กันยายน 2563
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการเฝ้าระวังกลุ่มเสี่ยง เลี่ยงวัณโรค ประจำปี 2563 จังหวัดตรัง" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลหนองปรือ อำเภอรัษฏา จังหวัดตรัง
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนหลักประกันสุขภาพองค์การบริหารส่วนตำบลหนองปรือ ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการเฝ้าระวังกลุ่มเสี่ยง เลี่ยงวัณโรค ประจำปี 2563
บทคัดย่อ
โครงการ " โครงการเฝ้าระวังกลุ่มเสี่ยง เลี่ยงวัณโรค ประจำปี 2563 " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลหนองปรือ อำเภอรัษฏา จังหวัดตรัง รหัสโครงการ 63 -L1515-01– 07 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 สิงหาคม 2563 - 15 กันยายน 2563 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 4,900.00 บาท จาก กองทุนหลักประกันสุขภาพองค์การบริหารส่วนตำบลหนองปรือ เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ »
บทคัดย่อ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล »
วัตถุประสงค์โครงการ »
กิจกรรม/การดำเนินงาน »
กลุ่มเป้าหมาย »
ผลลัพธ์ที่ได้ »
การประเมินผล »
ปัญหาและอุปสรรค »
ข้อเสนอแนะ »
เอกสารประกอบอื่นๆ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
องค์การอนามัยโลกได้จัดกลุ่มประเทศที่มีภาระวัณโรคสูง (High Burden Country Lists) เป็น 3 กลุ่มได้แก่ 1) กลุ่มที่มีจำนวนและอัตราป่วยวัณโรคสูง (TB) 2) กลุ่มที่มีจำนวนและอัตราป่วยวัณโรคที่ติดเชื้อ เอช ไอ วีสูง (TB/HIV) และ 3) กลุ่มที่มีจำนวนและอัตราป่วยดื้อยาหลายขนานสูง (MDR-TB) ซึ่งประเทศไทยเป็น 1 ใน 14 ประเทศ ที่มีปัญหาวัณโรคสูงทั้ง 3 กลุ่มดังกล่าวมาโดยปีพ.ศ.2559 องค์การอนามัยโลกได้กำหนดยุทธศาสตร์ยุติวัณโรค (The End TB Strategy) มีเป้าหมายลดอุบัติการณ์วัณโรค(Incidence) ให้ต่ำกว่า 10 ต่อแสนประชากรโลกภายในปี พ.ศ. 2578ผู้ป่วยวัณโรครายใหม่ของประเทศไทยประมาณ 120,000 รายต่อปี หรือคิดเป็น 172 ต่อประชากรแสนคนการจะบรรลุเป้าหมายยุติวัณโรค(The End TB Strategy)นั้น ประเทศไทยต้องมีอัตราลดอุบัติการณ์เฉลี่ยร้อยละ12.5 ต่อปี แต่ระยะ 15 ปีที่ผ่านมา(พ.ศ.2543-2558) มีอัตราลดลงของอุบัติการณ์เพียงร้อยละ 2.7 ต่อปีนอกจากนี้ จากการสำรวจทำให้ทราบว่า ผู้ป่วยเกินกว่าครึ่งหนึ่งไม่มีอาการหรือมีอาการเล็กน้อย ซึ่งผู้ป่วยที่ตรวจพบและรายงานมีเพียงร้อยละ 59 ของที่คาดประมาณเท่านั้น สะท้อนให้เห็นว่าผู้ป่วยยังเข้าไม่ถึงหรือเข้าถึงการรักษาอย่างล่าช้าทำให้เกิดการแพร่กระจายเชื้อในชุมชน ส่งผลให้อัตราป่วยลดลงได้เพียงช้าๆเท่านั้น
จากทะเบียนงานควบคุมโรคติดต่อของโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านคลองมวน ตั้งแต่ปี พ.ศ.2560-2562 พบผู้ป่วยวัณโรคจำนวน 3 ราย และผู้ป่วยวัณโรคดื้อยาหลายขนานจำนวน 1 ราย ดังนั้น ในการดำเนินการแก้ไขปัญหาสาธารณสุขให้ได้ผลทั้งในเชิงป้องกัน และแก้ไขปัญหาทั้งในระยะสั้นและระยะยาว โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพ บ้านคลองมวน จึงได้จัดทำกิจกรรมค้นหาผู้ป่วยวัณโรคเชิงรุกควบคุมกลุ่มป่วย และเฝ้าระวังกลุ่มเสี่ยงประจำปี2563 เพื่อควบคุมและป้องกันการแพร่ระบาดของโรคในชุมชนมิให้มีการแพร่ระบาดของโรคไปในวงกว้าง ป้องกันโรคล่วงหน้าให้ทันต่อสถานการณ์ที่เกิดโรค และดำเนินการอย่างต่อเนื่องเกิดประสิทธิภาพและประสิทธิผล เป็นการกระตุ้นให้หน่วยงานที่เกี่ยวข้องทั้งภาครัฐ เอกชน สถาบันต่างๆ โรงเรียน รวมทั้งประชาชนโดยทั่วไปได้ทราบ และเล็งเห็นความสำคัญของการป้องกัน และควบคุมโรค โดยบริหารจัดการสิ่งแวดล้อม เพื่อไม่ให้เป็นแหล่งรังโรค
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- 1.เพื่อลดอัตราป่วย และการแพร่กระจายของโรค 2.เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพการค้นหาผู้ป่วยวัณโรครายใหม่ในชุมชน 3.เพื่อให้ประชากรกลุ่มเสี่ยงมีความรู้ ความเข้าใจ สามารถปฏิบัติตนได้อย่างถูกต้องในการป้องกันโรค 4.เพื่อพัฒนาระบบการติดตามเยี่ยมบ้านผู้ป่วย และการส่งต่อผู้ป่วยอย่างมีประสิทธิภาพ
กิจกรรม/การดำเนินงาน
- 1.กิจกรรมให้ความรู้สถานการณ์/ความรุนแรงของโรควัณโรค 2.กิจกรรมอบรบให้ความรู้เรื่อง“การป้องกันและการสังเกตอาการของโรควัณโรค” 3.กิจกรรมอบรมให้ความรู้เรื่อง “ต้องทำอย่างไรเมื่อเป็นวัณโรค” 4.ตรวจคัดกรองกลุ่มเสี่ยง และค้นหาผู้ป่วยสงสัยเป็นวัณโรคในชุมชน 5.ติดตาม
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
1.ประชากรกลุ่มเสี่ยงมีความรู้ ความเข้าใจ สามารถปฏิบัติตนได้อย่างถูกต้องในการป้องกันโรค
2.ผู้ป่วยสงสัยเป็นวัณโรค ได้รับการส่งต่อเพื่อรับการตรวจยืนยันและเข้ารับการรักษา
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ ผลผลิต* ผลผลิตที่ตั้งไว้ ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง
1. 1.กิจกรรมให้ความรู้สถานการณ์/ความรุนแรงของโรควัณโรค 2.กิจกรรมอบรบให้ความรู้เรื่อง“การป้องกันและการสังเกตอาการของโรควัณโรค” 3.กิจกรรมอบรมให้ความรู้เรื่อง “ต้องทำอย่างไรเมื่อเป็นวัณโรค” 4.ตรวจคัดกรองกลุ่มเสี่ยง และค้นหาผู้ป่วยสงสัยเป็นวัณโรคในชุมชน 5.ติดตาม
วันที่ 10 สิงหาคม 2563กิจกรรมที่ทำ
- จัดทำโครงการเสนอเพื่อขออนุมัติ
- ติดต่อประสานกับผู้ที่เกี่ยวข้องในการดำเนินงานตามโครงการ
- ประชุมชี้แจงโครงการแก่เจ้าหน้าที่สาธารณสุข และอาสาสมัครสาธารณสุข
4. ประสานงานจัดเตรียมสถานที่จัดทำกิจกรรม
- ประสานวิทยากรในการฝึกอบรม
- จัดกิจกรรมโครงการเฝ้าระวังกลุ่มเสี่ยง เลี่ยงวัณโรค ประจำปี 2563
7. ตรวจคัดกรองกลุ่มเสี่ยง และค้นหาผู้ป่วยสงสัยเป็นวัณโรคในชุมชน
8. ประเมินผลและรายงานการดำเนินโครงการฯต่อประธานคณะกรรมการกองทุนฯตำบลหนองปรือ
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
ร้อยละ 100 ของกลุ่มเป้าหมายได้รับการตรวจคัดกรองโรควัณโรค
ร้อยละ 100 ของกลุ่มเป้าหมายมีความรู้ ความเข้าใจ สามารถปฏิบัติตนได้อย่างถูกต้องในการป้องกันโรค
ร้อยละ 100 มีการติดตามเยี่ยมบ้านผู้ป่วยโดยเจ้าหน้าที่และอาสาสมัครสาธารณสุขในเขตรับผิดชอบสัปดาห์ละ 1 ครั้ง
0
0
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ สถานการณ์ เป้าหมาย ผลผลิต อธิบาย
1
1.เพื่อลดอัตราป่วย และการแพร่กระจายของโรค 2.เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพการค้นหาผู้ป่วยวัณโรครายใหม่ในชุมชน 3.เพื่อให้ประชากรกลุ่มเสี่ยงมีความรู้ ความเข้าใจ สามารถปฏิบัติตนได้อย่างถูกต้องในการป้องกันโรค 4.เพื่อพัฒนาระบบการติดตามเยี่ยมบ้านผู้ป่วย และการส่งต่อผู้ป่วยอย่างมีประสิทธิภาพ
ตัวชี้วัด : 1.อัตราป่วยในพื้นที่ลดลง
2.ร้อยละ 100 ของกลุ่มเป้าหมายได้รับการตรวจคัดกรองโรควัณโรค
3.ร้อยละ 100 ของกลุ่มเป้าหมายมีความรู้ ความเข้าใจ สามารถปฏิบัติตนได้อย่างถูกต้องในการป้องกันโรค
4.ร้อยละ 100 มีการติดตามเยี่ยมบ้านผู้ป่วยโดยเจ้าหน้าที่และอสม.ในเขตรับผิดชอบสัปดาห์ละ 1 ครั้ง
0.00
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด
0
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
-
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
-
กลุ่มวัยทำงาน
-
กลุ่มผู้สูงอายุ
-
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
-
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
-
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
-
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
-
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
-
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) 1.เพื่อลดอัตราป่วย และการแพร่กระจายของโรค 2.เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพการค้นหาผู้ป่วยวัณโรครายใหม่ในชุมชน 3.เพื่อให้ประชากรกลุ่มเสี่ยงมีความรู้ ความเข้าใจ สามารถปฏิบัติตนได้อย่างถูกต้องในการป้องกันโรค 4.เพื่อพัฒนาระบบการติดตามเยี่ยมบ้านผู้ป่วย และการส่งต่อผู้ป่วยอย่างมีประสิทธิภาพ
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) 1.กิจกรรมให้ความรู้สถานการณ์/ความรุนแรงของโรควัณโรค 2.กิจกรรมอบรบให้ความรู้เรื่อง“การป้องกันและการสังเกตอาการของโรควัณโรค” 3.กิจกรรมอบรมให้ความรู้เรื่อง “ต้องทำอย่างไรเมื่อเป็นวัณโรค” 4.ตรวจคัดกรองกลุ่มเสี่ยง และค้นหาผู้ป่วยสงสัยเป็นวัณโรคในชุมชน 5.ติดตาม
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *- บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
- หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค สาเหตุ ข้อเสนอแนะ
โครงการเฝ้าระวังกลุ่มเสี่ยง เลี่ยงวัณโรค ประจำปี 2563 จังหวัด ตรัง
รหัสโครงการ 63 -L1515-01– 07
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
................................
( นางสาวจิตติมา สังข์สุวรรณ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......
โครงการ
“ โครงการเฝ้าระวังกลุ่มเสี่ยง เลี่ยงวัณโรค ประจำปี 2563 ”
ตำบลหนองปรือ อำเภอรัษฏา จังหวัดตรัง
หัวหน้าโครงการ
นางสาวจิตติมา สังข์สุวรรณ
กันยายน 2563
ที่อยู่ ตำบลหนองปรือ อำเภอรัษฏา จังหวัดตรัง จังหวัด ตรัง
รหัสโครงการ 63 -L1515-01– 07 เลขที่ข้อตกลง 026/2563
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 สิงหาคม 2563 ถึง 15 กันยายน 2563
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการเฝ้าระวังกลุ่มเสี่ยง เลี่ยงวัณโรค ประจำปี 2563 จังหวัดตรัง" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลหนองปรือ อำเภอรัษฏา จังหวัดตรัง
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนหลักประกันสุขภาพองค์การบริหารส่วนตำบลหนองปรือ ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการเฝ้าระวังกลุ่มเสี่ยง เลี่ยงวัณโรค ประจำปี 2563
บทคัดย่อ
โครงการ " โครงการเฝ้าระวังกลุ่มเสี่ยง เลี่ยงวัณโรค ประจำปี 2563 " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลหนองปรือ อำเภอรัษฏา จังหวัดตรัง รหัสโครงการ 63 -L1515-01– 07 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 สิงหาคม 2563 - 15 กันยายน 2563 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 4,900.00 บาท จาก กองทุนหลักประกันสุขภาพองค์การบริหารส่วนตำบลหนองปรือ เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ | » |
บทคัดย่อ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล | » |
วัตถุประสงค์โครงการ | » |
กิจกรรม/การดำเนินงาน | » |
กลุ่มเป้าหมาย | » |
ผลลัพธ์ที่ได้ | » |
การประเมินผล | » |
ปัญหาและอุปสรรค | » |
ข้อเสนอแนะ | » |
เอกสารประกอบอื่นๆ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
องค์การอนามัยโลกได้จัดกลุ่มประเทศที่มีภาระวัณโรคสูง (High Burden Country Lists) เป็น 3 กลุ่มได้แก่ 1) กลุ่มที่มีจำนวนและอัตราป่วยวัณโรคสูง (TB) 2) กลุ่มที่มีจำนวนและอัตราป่วยวัณโรคที่ติดเชื้อ เอช ไอ วีสูง (TB/HIV) และ 3) กลุ่มที่มีจำนวนและอัตราป่วยดื้อยาหลายขนานสูง (MDR-TB) ซึ่งประเทศไทยเป็น 1 ใน 14 ประเทศ ที่มีปัญหาวัณโรคสูงทั้ง 3 กลุ่มดังกล่าวมาโดยปีพ.ศ.2559 องค์การอนามัยโลกได้กำหนดยุทธศาสตร์ยุติวัณโรค (The End TB Strategy) มีเป้าหมายลดอุบัติการณ์วัณโรค(Incidence) ให้ต่ำกว่า 10 ต่อแสนประชากรโลกภายในปี พ.ศ. 2578ผู้ป่วยวัณโรครายใหม่ของประเทศไทยประมาณ 120,000 รายต่อปี หรือคิดเป็น 172 ต่อประชากรแสนคนการจะบรรลุเป้าหมายยุติวัณโรค(The End TB Strategy)นั้น ประเทศไทยต้องมีอัตราลดอุบัติการณ์เฉลี่ยร้อยละ12.5 ต่อปี แต่ระยะ 15 ปีที่ผ่านมา(พ.ศ.2543-2558) มีอัตราลดลงของอุบัติการณ์เพียงร้อยละ 2.7 ต่อปีนอกจากนี้ จากการสำรวจทำให้ทราบว่า ผู้ป่วยเกินกว่าครึ่งหนึ่งไม่มีอาการหรือมีอาการเล็กน้อย ซึ่งผู้ป่วยที่ตรวจพบและรายงานมีเพียงร้อยละ 59 ของที่คาดประมาณเท่านั้น สะท้อนให้เห็นว่าผู้ป่วยยังเข้าไม่ถึงหรือเข้าถึงการรักษาอย่างล่าช้าทำให้เกิดการแพร่กระจายเชื้อในชุมชน ส่งผลให้อัตราป่วยลดลงได้เพียงช้าๆเท่านั้น จากทะเบียนงานควบคุมโรคติดต่อของโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านคลองมวน ตั้งแต่ปี พ.ศ.2560-2562 พบผู้ป่วยวัณโรคจำนวน 3 ราย และผู้ป่วยวัณโรคดื้อยาหลายขนานจำนวน 1 ราย ดังนั้น ในการดำเนินการแก้ไขปัญหาสาธารณสุขให้ได้ผลทั้งในเชิงป้องกัน และแก้ไขปัญหาทั้งในระยะสั้นและระยะยาว โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพ บ้านคลองมวน จึงได้จัดทำกิจกรรมค้นหาผู้ป่วยวัณโรคเชิงรุกควบคุมกลุ่มป่วย และเฝ้าระวังกลุ่มเสี่ยงประจำปี2563 เพื่อควบคุมและป้องกันการแพร่ระบาดของโรคในชุมชนมิให้มีการแพร่ระบาดของโรคไปในวงกว้าง ป้องกันโรคล่วงหน้าให้ทันต่อสถานการณ์ที่เกิดโรค และดำเนินการอย่างต่อเนื่องเกิดประสิทธิภาพและประสิทธิผล เป็นการกระตุ้นให้หน่วยงานที่เกี่ยวข้องทั้งภาครัฐ เอกชน สถาบันต่างๆ โรงเรียน รวมทั้งประชาชนโดยทั่วไปได้ทราบ และเล็งเห็นความสำคัญของการป้องกัน และควบคุมโรค โดยบริหารจัดการสิ่งแวดล้อม เพื่อไม่ให้เป็นแหล่งรังโรค
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- 1.เพื่อลดอัตราป่วย และการแพร่กระจายของโรค 2.เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพการค้นหาผู้ป่วยวัณโรครายใหม่ในชุมชน 3.เพื่อให้ประชากรกลุ่มเสี่ยงมีความรู้ ความเข้าใจ สามารถปฏิบัติตนได้อย่างถูกต้องในการป้องกันโรค 4.เพื่อพัฒนาระบบการติดตามเยี่ยมบ้านผู้ป่วย และการส่งต่อผู้ป่วยอย่างมีประสิทธิภาพ
กิจกรรม/การดำเนินงาน
- 1.กิจกรรมให้ความรู้สถานการณ์/ความรุนแรงของโรควัณโรค 2.กิจกรรมอบรบให้ความรู้เรื่อง“การป้องกันและการสังเกตอาการของโรควัณโรค” 3.กิจกรรมอบรมให้ความรู้เรื่อง “ต้องทำอย่างไรเมื่อเป็นวัณโรค” 4.ตรวจคัดกรองกลุ่มเสี่ยง และค้นหาผู้ป่วยสงสัยเป็นวัณโรคในชุมชน 5.ติดตาม
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้ | |
---|---|---|
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | ||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | ||
กลุ่มวัยทำงาน | ||
กลุ่มผู้สูงอายุ | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | ||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | ||
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] |
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
1.ประชากรกลุ่มเสี่ยงมีความรู้ ความเข้าใจ สามารถปฏิบัติตนได้อย่างถูกต้องในการป้องกันโรค 2.ผู้ป่วยสงสัยเป็นวัณโรค ได้รับการส่งต่อเพื่อรับการตรวจยืนยันและเข้ารับการรักษา
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้ ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์** กิจกรรมของโครงการ | ผลผลิต* | |
---|---|---|
ผลผลิตที่ตั้งไว้ | ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง | |
1. 1.กิจกรรมให้ความรู้สถานการณ์/ความรุนแรงของโรควัณโรค 2.กิจกรรมอบรบให้ความรู้เรื่อง“การป้องกันและการสังเกตอาการของโรควัณโรค” 3.กิจกรรมอบรมให้ความรู้เรื่อง “ต้องทำอย่างไรเมื่อเป็นวัณโรค” 4.ตรวจคัดกรองกลุ่มเสี่ยง และค้นหาผู้ป่วยสงสัยเป็นวัณโรคในชุมชน 5.ติดตาม |
||
วันที่ 10 สิงหาคม 2563กิจกรรมที่ทำ
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นร้อยละ 100 ของกลุ่มเป้าหมายได้รับการตรวจคัดกรองโรควัณโรค ร้อยละ 100 ของกลุ่มเป้าหมายมีความรู้ ความเข้าใจ สามารถปฏิบัติตนได้อย่างถูกต้องในการป้องกันโรค ร้อยละ 100 มีการติดตามเยี่ยมบ้านผู้ป่วยโดยเจ้าหน้าที่และอาสาสมัครสาธารณสุขในเขตรับผิดชอบสัปดาห์ละ 1 ครั้ง
|
0 | 0 |
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ | สถานการณ์ | เป้าหมาย | ผลผลิต | อธิบาย | |
---|---|---|---|---|---|
1 | 1.เพื่อลดอัตราป่วย และการแพร่กระจายของโรค 2.เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพการค้นหาผู้ป่วยวัณโรครายใหม่ในชุมชน 3.เพื่อให้ประชากรกลุ่มเสี่ยงมีความรู้ ความเข้าใจ สามารถปฏิบัติตนได้อย่างถูกต้องในการป้องกันโรค 4.เพื่อพัฒนาระบบการติดตามเยี่ยมบ้านผู้ป่วย และการส่งต่อผู้ป่วยอย่างมีประสิทธิภาพ ตัวชี้วัด : 1.อัตราป่วยในพื้นที่ลดลง 2.ร้อยละ 100 ของกลุ่มเป้าหมายได้รับการตรวจคัดกรองโรควัณโรค 3.ร้อยละ 100 ของกลุ่มเป้าหมายมีความรู้ ความเข้าใจ สามารถปฏิบัติตนได้อย่างถูกต้องในการป้องกันโรค 4.ร้อยละ 100 มีการติดตามเยี่ยมบ้านผู้ป่วยโดยเจ้าหน้าที่และอสม.ในเขตรับผิดชอบสัปดาห์ละ 1 ครั้ง |
0.00 |
|
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
---|---|---|---|
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด | 0 | ||
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | |||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | - | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | - | ||
กลุ่มวัยทำงาน | - | ||
กลุ่มผู้สูงอายุ | - | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | |||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | - | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | - | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | - | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | - | ||
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] | - |
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) 1.เพื่อลดอัตราป่วย และการแพร่กระจายของโรค 2.เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพการค้นหาผู้ป่วยวัณโรครายใหม่ในชุมชน 3.เพื่อให้ประชากรกลุ่มเสี่ยงมีความรู้ ความเข้าใจ สามารถปฏิบัติตนได้อย่างถูกต้องในการป้องกันโรค 4.เพื่อพัฒนาระบบการติดตามเยี่ยมบ้านผู้ป่วย และการส่งต่อผู้ป่วยอย่างมีประสิทธิภาพ
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) 1.กิจกรรมให้ความรู้สถานการณ์/ความรุนแรงของโรควัณโรค 2.กิจกรรมอบรบให้ความรู้เรื่อง“การป้องกันและการสังเกตอาการของโรควัณโรค” 3.กิจกรรมอบรมให้ความรู้เรื่อง “ต้องทำอย่างไรเมื่อเป็นวัณโรค” 4.ตรวจคัดกรองกลุ่มเสี่ยง และค้นหาผู้ป่วยสงสัยเป็นวัณโรคในชุมชน 5.ติดตาม
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค | สาเหตุ | ข้อเสนอแนะ |
---|---|---|
|
|
|
โครงการเฝ้าระวังกลุ่มเสี่ยง เลี่ยงวัณโรค ประจำปี 2563 จังหวัด ตรัง
รหัสโครงการ 63 -L1515-01– 07
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
( นางสาวจิตติมา สังข์สุวรรณ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......