กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.โคกเคียน


“ โครงการจัดทำหน้ากากผ้า เพื่อชาวบ้านบือราเป๊ะ ”

ตำบลโคกเคียน อำเภอเมืองนราธิวาส จังหวัดนราธิวาส

หัวหน้าโครงการ
นางสาวยูซไรณี เจ๊ะเต๊ะ

ชื่อโครงการ โครงการจัดทำหน้ากากผ้า เพื่อชาวบ้านบือราเป๊ะ

ที่อยู่ ตำบลโคกเคียน อำเภอเมืองนราธิวาส จังหวัดนราธิวาส จังหวัด นราธิวาส

รหัสโครงการ 63-L2492-2-38 เลขที่ข้อตกลง 38/2563

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ ถึง


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการจัดทำหน้ากากผ้า เพื่อชาวบ้านบือราเป๊ะ จังหวัดนราธิวาส" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลโคกเคียน อำเภอเมืองนราธิวาส จังหวัดนราธิวาส

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.โคกเคียน ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการจัดทำหน้ากากผ้า เพื่อชาวบ้านบือราเป๊ะ



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการจัดทำหน้ากากผ้า เพื่อชาวบ้านบือราเป๊ะ " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลโคกเคียน อำเภอเมืองนราธิวาส จังหวัดนราธิวาส รหัสโครงการ 63-L2492-2-38 ระยะเวลาการดำเนินงาน ยังไม่ระบุ - (ยังไม่ระบุ) ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 28,230.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.โคกเคียน เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

โรคติดต่อเชื้อโคโรนาไวรัส ๒๐๑๙ (COVID-๑๙) ซึ่งย่อมาจาก "Coronavitus disease ๒๐๑๙" ทำให้เกิดโรคทางเดินหายใจอักเสบเฉียบพลัน ปอดอักเสบและมีภาวะแทรกซ้อน พบแหล่งกำเนิดจากเมืองอู่ฮั่น มลฑลหูเป่ย จากที่มีผู้ป่วยมีอาการคล้ายปอดอักเสบ และไข้หวัดช.เนจำนวนมาก จึงมีการเก็บตัวเหล่านี้ไปถอดรหัสพันธุกรรมและได้ว่าเป็นเชื้อ ไวรัสโคโรนา ซึ่งเป็นสายพันธุ์ที่ ๗ ที่ถูกคันพบ เป็นตระกูลเดียวกับโรค ชาร์ส (SARS) และเมอร์ส (MERS) จากข้อมูลกรมควบคุมโรค กระทรวงสาธารณสุข ณ วันที่ ๑๔ มิถุนายน ๒๕๖๓มีรายงานยอดสะสมผู้ติดเชื้ออยู่ที่ ๑,๔๘๔,๕๓๒ ราย รักษาตัวหายแล้ว ๔.๑0๔.๓๗๓ ราย มียอดผู้เสียชีวิต ๔๓๕,๑๗๗ ราย โดยประเทศสหรัฐอเมริกามีจำนวนผู้ติดเชื้อและเสียชีวิตมากที่สุดในโลก มียอดสะสมผู้ป่วยล่าสุด ๒,๑๖9,๑๔๔ รายยอดผู้เสียชีวิต ๑๑ต,๘๕๓ ราย และสถานการณ์การแพร่ระบาดในประเทศไทย พบผู้ป่วยติดเชื้อรายใหม่ ๑ ราย ทำให้ สะสมอยู่ที่ ๓,๑๓๕ ราย และยอดผู้เสียชีวิตสะสม ๕๘ ราย ยังไม่มีผู้ป่วยรักษาตัวหายกลับบ้านเพิ่มยอดสะสมผู้ป่วยที่รักษาหายแล้วยังคงอยู่ที่ ๒,๙๘๗ คน และยังคงต้องเฝ้าระวังอย่างใกล้ชิดในส่วนของจังหวัดนราธิวาส พบผู้ป่วยติดเชื้อ ๔๓ ราย รักษาตัวอยู่โรงพยาบาลอยู่ ๓ ราย รักษาตัวหายแล้ว ๓๘ ราย เสียชีวิต ๒ ราย และยังคงต้องเฝ้าระวังอย่างใกล้ชิด แต่เพื่อเป็นการป้องกันการระบาดของโรคติดเชื้อดังกล่าวมาตรการที่สำคัญคือ การสร้างความรู้ ความเข้าใจการดำเนินไปของโรค ซึ่งเป็นสิ่งสำคัญเพื่อสร้างความตระหนักต่อการ ใช้ชีวิตประจำวันในการป้องกันตนเองมิให้สัมผัสกับโรคโดยการหลีกเลี่ยงการอยู่ในสถานที่แออัด และไม่อยู่ใกล้ชิดผู้ป่วยไอหรือจาม รวมถึงการใช้หน้ากากอนามัยและการล้างมืออย่างถูกวิธี ไม่เฉพาะโรคติดเชื้อโคโรนาไวรัส ๒0๑๙ (COVID- ๑๙) เท่านั้น แต่รวมถึงโรคระบาดหรือโรคติดต่ออุบัติใหม่ที่จะเกิดขึ้นในอนาคตอีกด้วยกลุ่มแม่ข้านตัดเย็บผ้า ข้านบื่อราเะ จึงได้จัดโครงกรจัดทำหน้ากากผ้า เพื่อชาวบ้านบือราเปีะ เพื่อให้มีการดำเนินการให้ความรู้ คำแนะนำ การดูแลเฝ้าระวังป้องกันตนเองให้กับประชาชนในพื้นที่ต่อไป

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อสร้างความตระหนักให้เเก่ประชาชนในพื้นที่ในการป้องกันตนเองจากการติดเชื้อโคโรน่าไสรัส 2019 (COVID-19) โดยกรสวมหน้ากากอนามัย
  2. เพื่อส่งเสริมและสนับสนุนให้ประชาชนใน พื้นที่สามารถป้องกันโรคติดเชื้อโคโรนาไวรัส ๒๐๑๙ (COVID-๑๙) ด้วยตนเองได้อย่าง ถูกต้อง

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. รณรงค์การป้องกันการติดเชื้อโคโรนาไวรัส ๒๐๑๙ (Covid-19) ด้วยการสวมหน้ากากอนามัยอย่างถูกวิธีทุกหลังคาเรือน พร้อมเเจกแผ่นผับให้ความรู้
  2. ร่วมจัดทำหน้ากากอนามัยเเบบบผ้าเพื่อการป้องกันตนเอง

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 100
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

๑. ประชาชนในพื้นที่ มีความตระหนักในการป้องกันตนเองจากการติดเชื้อโคโรนาไวรัส ๒๐๑๙ (COVID-๑๙) โดยการสวมหน้ากากอนามัย ๒.ประชาชนในพื้นที่ มีความรู้ ความเข้าใจ ในการป้องกันโรคติดเชื้อโคโรนาไวรัส ๒0๑๙ (COVID-๑๙) และสามารถดูแลตนเองและครอบครัวได้อย่างถูกต้อง


ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

1. รณรงค์การป้องกันการติดเชื้อโคโรนาไวรัส ๒๐๑๙ (Covid-19) ด้วยการสวมหน้ากากอนามัยอย่างถูกวิธีทุกหลังคาเรือน พร้อมเเจกแผ่นผับให้ความรู้

วันที่ 5 กรกฎาคม 2563

กิจกรรมที่ทำ

ค่าถ่ายเอกสารแผ่นพับให้ความรู้ แผ่นละ ๑ บาท เป็นเงิน ๑,๐๐๐.-บาท

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

เอกสารแผ่นพับให้ความรู้

 

0 0

2. ร่วมจัดทำหน้ากากอนามัยเเบบบผ้าเพื่อการป้องกันตนเอง

วันที่ 25 กรกฎาคม 2563

กิจกรรมที่ทำ

-ค่าผ้าคอตตอน (หน้ากว้าง ๔๕ นิ้ว) จำนวน ๑๐๐หลาๆ ละ ๘๕ บาท เป็นเงิน ๘,๕๐๐.-บาท -ค่าผ้าสาลู จำนวน ๑๐๐ หลาๆ ละ ๓๕ บาท เป็นเงิน ๓,๕๐๐.-บาท -ค่าผ้าฝ้าย จำนวน ๑๐๐ หลาๆ ละ ๘๕ บาท เป็นเงิน ๘,๕๐๐.-บาท -ค่ายางยืด (เบอร์ ๖) จำนวน ๙ ม้วนๆ ละ ๔๘๐ บาท เป็นเงิน ๔,๓๒๐.-บาท -ค่าด้ายสีขาว จำนวน ๙๖ ม้วนๆ ละ ๒๐ บาท เป็นเงิน ๑,๙๒๐.-บาท -ค่าเข็มเย็บ จำนวน ๕ ซองๆ ละ ๒๕ บาท เป็นเงิน ๑๒๕.-บาท -ค่าเข็มหมุด จำนวน ๒ กล่องๆ ละ ๓๕ บาท ป็นเงิน ๗๐ บาท -ค่ากรรไกร (ขนาด ๙ นิ้ว) จำนวน ๕ อันๆ ละ ๕๐ บาท เป็นเงิน ๒๕๐.-บาท -ไม้บรรทัดพลาสติก (ขนาด ๑๒ นิ้ว) จำนวน ๕ อันๆละ ๕ บาท เป็นเงิน ๒๕.-บาท -ค่ากระดาษแข็ง (สีขาว-เทา) จำนวน ๑ แผ่นๆ ละ ๒๐ บาท เป็นเงิน ๒๐.-บาท

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

-ผ้าคอตตอน  จำนวน ๑๐๐หลา -ผ้าสาลู จำนวน ๑๐๐ หลา -ผ้าฝ้าย จำนวน ๑๐๐ หลา -ยางยืด (เบอร์ ๖) จำนวน ๙ ม้วน -ด้ายสีขาว จำนวน ๙๖ ม้วน -เข็มเย็บ จำนวน ๕ ซอง -เข็มหมุด จำนวน ๒ กล่อง -กรรไกร จำนวน ๕ อัน -ไม้บรรทัดพลาสติก จำนวน ๕ อัน -กระดาษแข็ง (สีขาว-เทา) จำนวน ๑ แผ่น

 

0 0

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เพื่อสร้างความตระหนักให้เเก่ประชาชนในพื้นที่ในการป้องกันตนเองจากการติดเชื้อโคโรน่าไสรัส 2019 (COVID-19) โดยกรสวมหน้ากากอนามัย
ตัวชี้วัด : ร้อยละ 100 ของประชาชนในพื้นที่มีความตระหนักในการป้องกันตนเองจากการติดเชื้อไวรัส 2019 (COVID-19) โดยการสวมหน้ากากอนามัย
100.00

 

2 เพื่อส่งเสริมและสนับสนุนให้ประชาชนใน พื้นที่สามารถป้องกันโรคติดเชื้อโคโรนาไวรัส ๒๐๑๙ (COVID-๑๙) ด้วยตนเองได้อย่าง ถูกต้อง
ตัวชี้วัด : ร้อยละ ๑๐๐ ของประชาชนในพื้นที่ มีการป้องกันโรคติดเชื้อโคโรนาไวรัส ๒๐๑๙ (COVID-๑๙) ด้วยตนเองได้อย่างถูกต้อง
100.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 100
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 100
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อสร้างความตระหนักให้เเก่ประชาชนในพื้นที่ในการป้องกันตนเองจากการติดเชื้อโคโรน่าไสรัส 2019 (COVID-19) โดยกรสวมหน้ากากอนามัย (2) เพื่อส่งเสริมและสนับสนุนให้ประชาชนใน พื้นที่สามารถป้องกันโรคติดเชื้อโคโรนาไวรัส ๒๐๑๙ (COVID-๑๙) ด้วยตนเองได้อย่าง ถูกต้อง

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) รณรงค์การป้องกันการติดเชื้อโคโรนาไวรัส ๒๐๑๙ (Covid-19) ด้วยการสวมหน้ากากอนามัยอย่างถูกวิธีทุกหลังคาเรือน พร้อมเเจกแผ่นผับให้ความรู้ (2) ร่วมจัดทำหน้ากากอนามัยเเบบบผ้าเพื่อการป้องกันตนเอง

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการจัดทำหน้ากากผ้า เพื่อชาวบ้านบือราเป๊ะ จังหวัด นราธิวาส

รหัสโครงการ 63-L2492-2-38

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นางสาวยูซไรณี เจ๊ะเต๊ะ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด