โครงการครัวเรือนร่วมใจคัดแยกขยะต้นทาง เพื่อชุมชนสะอาด โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลแหลมสน
แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์
รายงานฉบับสมบูรณ์
โครงการ
“ โครงการครัวเรือนร่วมใจคัดแยกขยะต้นทาง เพื่อชุมชนสะอาด โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลแหลมสน ”
ตำบลแหลมสน อำเภอละงู จังหวัดสตูล
หัวหน้าโครงการ
โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลแหลมสน
ได้รับการสนับสนุนโดย กองทุนสุขภาพตำบล อบต.แหลมสน
ธันวาคม 2563
ชื่อโครงการ โครงการครัวเรือนร่วมใจคัดแยกขยะต้นทาง เพื่อชุมชนสะอาด โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลแหลมสน
ที่อยู่ ตำบลแหลมสน อำเภอละงู จังหวัดสตูล จังหวัด สตูล
รหัสโครงการ 2563-L5314-1-02 เลขที่ข้อตกลง 02/2563
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 กรกฎาคม 2563 ถึง 30 ธันวาคม 2563
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการครัวเรือนร่วมใจคัดแยกขยะต้นทาง เพื่อชุมชนสะอาด โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลแหลมสน จังหวัดสตูล" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลแหลมสน อำเภอละงู จังหวัดสตูล
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.แหลมสน ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการครัวเรือนร่วมใจคัดแยกขยะต้นทาง เพื่อชุมชนสะอาด โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลแหลมสน
บทคัดย่อ
โครงการ " โครงการครัวเรือนร่วมใจคัดแยกขยะต้นทาง เพื่อชุมชนสะอาด โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลแหลมสน " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลแหลมสน อำเภอละงู จังหวัดสตูล รหัสโครงการ 2563-L5314-1-02 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 กรกฎาคม 2563 - 30 ธันวาคม 2563 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 33,600.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.แหลมสน เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ »
บทคัดย่อ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล »
วัตถุประสงค์โครงการ »
กิจกรรม/การดำเนินงาน »
กลุ่มเป้าหมาย »
ผลลัพธ์ที่ได้ »
การประเมินผล »
ปัญหาและอุปสรรค »
ข้อเสนอแนะ »
เอกสารประกอบอื่นๆ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
ปัญหาการจัดการขยะเป็นปัญหาใหญ่ของหลายๆจังหวัดในประเทศไทยที่กำลังเผชิญกับปัญหาการกำจัดขยะที่นับวันจะทวีความรุนแรงขึ้นตลอดเวลา เนื่องจากขยะมูลฝอยเป็นปัญหาด้านสิ่งแวดล้อมที่สำคัญของประเทศ และมีแนวโน้มเพิ่มสูงขึ้นทุกปีตามจำนวนประชากรที่เพิ่มขึ้น ในขณะที่อัตราของขยะมูลฝอยที่ถูกนำไปกำจัดอย่างถูกต้องตามหลักวิชาการ และอัตราขยะมูลฝอยที่ถูกนำมาใช้ประโยชน์มีแนวโน้มเพิ่มขึ้นเพียงเล็กน้อยเท่านั้น ความสามารถในการจัดเก็บขยะกลับมีไม่ถึงร้อยละ 70 ของขยะที่เกิดขึ้น จึงทำให้เกิดปริมาณขยะมูลฝอยตกค้างตามสถานที่ต่าง ๆ หรือมีการนำไปกำจัดโดยวิธีกองบนพื้นซึ่งไม่ถูกต้องตามหลักสุขาภิบาลก่อให้เกิดปัญหาสิ่งแวดล้อม อากาศเสีย น้ำเสีย เป็นแหล่งพาหะนำโรค และเป็นเหตุรำคาญหรือความไม่น่าดูในชุมชน ซึ่งตำบลแหลมสน อำเภอละงู จังหวัดสตูล นับเป็นตำบลหนึ่งที่ยังพบปัญหาการจำกัดขยะตามบ้านเรือนในชุมชน ตามแนวชายฝั่งทะเล เนื่องจากเป็นตำบลแหล่งท่องเที่ยวที่มีทิวทัศน์ทางทะเลที่สวยงาม แต่ยังพบกองขยะมูลฝอยให้เห็นอย่างต่อเนื่องทั้งนี้ตำบลแหลมสนไม่ได้ดำเนินการสำรวจปริมาณขยะทั้งหมดภายในตำบล แต่จากการสำรวจการจัดการขยะในครัวเรือนจำนวน 239 หลังคาเรือนในโครงการเสริมสร้างพลังชุมชนด้วยบ้านต้นแบบด้านการส่งเสริมสุขภาพ ภายใต้ตำบลจัดการสุขภาพ ในปี 2562 ได้สำรวจในประเด็นการจัดการขยะในครัวเรือน พบว่าร้อยละ 66.37มีการคัดแยกขยะออกเป็น 2 ประเภท คือขยะเปียก ขยะแห้ง, ร้อยละ 27.05 ครัวเรือนมีการคัดแยกขยะออกเป็น 3 ประเภท คือขยะอินทรีย์ ขยะรีไซเคิล และขยะทั่วไป และร้อยละ 6.58 ครัวเรือนไม่มีการคัดแยกขยะโดยรวมขยะทุกประเภทในถุงเดียวกัน ในประเด็นวิธีการทำลายขยะในครัวเรือน พบว่ามีการกำจัดด้วยวิธีการเผาบนหน้าดินร้อยละ 56.48, ฝั่งกลบร้อยละ 25.11 และทิ้งขยะบนผิวดินปล่อยให้ย่อยสลายเองตามธรรมชาติร้อยละ 18.41 โดยโครงการดังกล่าวให้ความสำคัญกับกิจกรรมคัดแยกขยะต้นทางในครัวเรือน และค้นหาบ้านต้นแบบที่มีการบริหารจัดการแบบบูรณาการทั้งด้านการส่งเสริมสุขภาพและการจัดการสิ่งแวดล้อมให้เอื้อต่อการมีสุขภาพที่ดี
และผลการดำเนินงานโครงการเสริมสร้างพลังชุมชนด้วยบ้านต้นแบบด้านการส่งเสริมสุขภาพ ภายใต้ตำบลจัดการสุขภาพ ในปี 2563พบว่ามีบ้านที่เข้าร่วมกิจกรรมบ้านต้นแบบด้านการส่งเสริมสุขภาพจำนวน 239 หลังคาเรือน คิดเป็นร้อยละ 34.14 และมีบ้านที่เข้าร่วมประกวดบ้านต้นแบบด้านการส่งเสริมสุขภาพจำนวน 81 หลังคาเรือน คิดเป็นร้อยละ 11.57จำแนกตามหมู่บ้าน ดังรายละเอียดปรากฏตามตาราง
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- เพื่อส่งเสริมให้ครัวเรือนในเขตรับผิดชอบเข้าร่วมโครงการคัดแยกขยะต้นทางในครัวเรือนเพิ่มขึ้น
- เพื่อค้นหาบ้านต้นแบบในการคัดแยกขยะ สามารถเป็นแบบอย่างให้กับครัวเรือนอื่นๆได้
กิจกรรม/การดำเนินงาน
- กิจกรรมอบรมให้ความรู้การคัดแยกขยะต้นทางในครัวเรือน 4 หมู่บ้านในเขตรับผิดชอบ และรับสมัครครัวเรือนเข้าร่วม กิจกรรมคัดแยกขยะ
- กิจกรรมประชาสัมพันธ์ และสร้างกระแสการคัดแยกขยะให้เกิดความต่อเนื่อง
- กิจกรรมประชุมวางแผนงานคณะกรรมการตำบลและคณะกรรมการหมู่บ้าน จำนวน 2 ครั้ง (คณะกรรมการ 25คน และเจ้าหน้าที่สาธารณสุข 5 คน)
- กิจกรรมประชุมตรวจเยี่ยมเพื่อเสริมกำลังใจ และประเมินครัวเรือนที่เข้าร่วมโครงการ (คณะกรรมการ 25 คน และเจ้าหน้าที่สาธารณสุข 5 คน)
- สรุปผลกิจกรรมการดำเนินงานโครงการและมอบเกียรติบัตรแด่ครัวเรือนต้นแบบดีเด่น
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
180
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
ประชาชนมีความรู้ และมีการคัดแยกขยะที่ถูกต้อง โดยสามารถลดปริมาณการใช้ขยะ (คิดก่อนใช้)ขยะมูลฝอยได้รับการกำจัดที่ถูกต้องและขยะรีไซเคิลสร้างรายได้ให้กับครัวเรือน
ครัวเรือนในเขตรับผิดชอบมีส่วนร่วมในการจัดการขยะในชุมชนและสถานที่สาธารณะ
ทุกภาคส่วนทั้งภาครัฐ ภาคีเครือข่ายในชุมชน และประชาชนมีการรวมตัวกันทำกิจกรรมที่ส่งเสริมการจัดการสิ่งแวดล้อมที่เอื้อต่อการมีสุขภาพที่ดีของประชาชนในตำบลแหลมสน
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ ผลผลิต* ผลผลิตที่ตั้งไว้ ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ สถานการณ์ เป้าหมาย ผลผลิต อธิบาย
1
เพื่อส่งเสริมให้ครัวเรือนในเขตรับผิดชอบเข้าร่วมโครงการคัดแยกขยะต้นทางในครัวเรือนเพิ่มขึ้น
ตัวชี้วัด : 1. ร้อยละ 50ของครัวเรือนทั้งหมด (ทั้งครัวเรือนเก่าและใหม่) สมัครเข้าร่วมโครงการคัดแยกขยะต้นทาง และมีการบริหารจัดการขยะอย่างเป็นรูปธรรมชัดเจน
0.00
2
เพื่อค้นหาบ้านต้นแบบในการคัดแยกขยะ สามารถเป็นแบบอย่างให้กับครัวเรือนอื่นๆได้
ตัวชี้วัด : 1. ในแต่ละชุมชนมีบ้านต้นแบบอย่างน้อย 10 หลังคาเรือนที่เห็นเป็นรูปธรรมชัดเจน สามารถลดปริมาณขยะได้
0.00
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด
180
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
-
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
-
กลุ่มวัยทำงาน
180
กลุ่มผู้สูงอายุ
-
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
-
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
-
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
-
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
-
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
-
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อส่งเสริมให้ครัวเรือนในเขตรับผิดชอบเข้าร่วมโครงการคัดแยกขยะต้นทางในครัวเรือนเพิ่มขึ้น (2) เพื่อค้นหาบ้านต้นแบบในการคัดแยกขยะ สามารถเป็นแบบอย่างให้กับครัวเรือนอื่นๆได้
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) กิจกรรมอบรมให้ความรู้การคัดแยกขยะต้นทางในครัวเรือน 4 หมู่บ้านในเขตรับผิดชอบ และรับสมัครครัวเรือนเข้าร่วม กิจกรรมคัดแยกขยะ (2) กิจกรรมประชาสัมพันธ์ และสร้างกระแสการคัดแยกขยะให้เกิดความต่อเนื่อง (3) กิจกรรมประชุมวางแผนงานคณะกรรมการตำบลและคณะกรรมการหมู่บ้าน จำนวน 2 ครั้ง (คณะกรรมการ 25คน และเจ้าหน้าที่สาธารณสุข 5 คน) (4) กิจกรรมประชุมตรวจเยี่ยมเพื่อเสริมกำลังใจ และประเมินครัวเรือนที่เข้าร่วมโครงการ (คณะกรรมการ 25 คน และเจ้าหน้าที่สาธารณสุข 5 คน) (5) สรุปผลกิจกรรมการดำเนินงานโครงการและมอบเกียรติบัตรแด่ครัวเรือนต้นแบบดีเด่น
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *- บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
- หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค สาเหตุ ข้อเสนอแนะ
โครงการครัวเรือนร่วมใจคัดแยกขยะต้นทาง เพื่อชุมชนสะอาด โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลแหลมสน จังหวัด สตูล
รหัสโครงการ 2563-L5314-1-02
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
................................
( โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลแหลมสน )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......
โครงการ
“ โครงการครัวเรือนร่วมใจคัดแยกขยะต้นทาง เพื่อชุมชนสะอาด โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลแหลมสน ”
ตำบลแหลมสน อำเภอละงู จังหวัดสตูล
หัวหน้าโครงการ
โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลแหลมสน
ธันวาคม 2563
ที่อยู่ ตำบลแหลมสน อำเภอละงู จังหวัดสตูล จังหวัด สตูล
รหัสโครงการ 2563-L5314-1-02 เลขที่ข้อตกลง 02/2563
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 กรกฎาคม 2563 ถึง 30 ธันวาคม 2563
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการครัวเรือนร่วมใจคัดแยกขยะต้นทาง เพื่อชุมชนสะอาด โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลแหลมสน จังหวัดสตูล" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลแหลมสน อำเภอละงู จังหวัดสตูล
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.แหลมสน ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการครัวเรือนร่วมใจคัดแยกขยะต้นทาง เพื่อชุมชนสะอาด โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลแหลมสน
บทคัดย่อ
โครงการ " โครงการครัวเรือนร่วมใจคัดแยกขยะต้นทาง เพื่อชุมชนสะอาด โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลแหลมสน " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลแหลมสน อำเภอละงู จังหวัดสตูล รหัสโครงการ 2563-L5314-1-02 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 กรกฎาคม 2563 - 30 ธันวาคม 2563 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 33,600.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.แหลมสน เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ | » |
บทคัดย่อ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล | » |
วัตถุประสงค์โครงการ | » |
กิจกรรม/การดำเนินงาน | » |
กลุ่มเป้าหมาย | » |
ผลลัพธ์ที่ได้ | » |
การประเมินผล | » |
ปัญหาและอุปสรรค | » |
ข้อเสนอแนะ | » |
เอกสารประกอบอื่นๆ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
ปัญหาการจัดการขยะเป็นปัญหาใหญ่ของหลายๆจังหวัดในประเทศไทยที่กำลังเผชิญกับปัญหาการกำจัดขยะที่นับวันจะทวีความรุนแรงขึ้นตลอดเวลา เนื่องจากขยะมูลฝอยเป็นปัญหาด้านสิ่งแวดล้อมที่สำคัญของประเทศ และมีแนวโน้มเพิ่มสูงขึ้นทุกปีตามจำนวนประชากรที่เพิ่มขึ้น ในขณะที่อัตราของขยะมูลฝอยที่ถูกนำไปกำจัดอย่างถูกต้องตามหลักวิชาการ และอัตราขยะมูลฝอยที่ถูกนำมาใช้ประโยชน์มีแนวโน้มเพิ่มขึ้นเพียงเล็กน้อยเท่านั้น ความสามารถในการจัดเก็บขยะกลับมีไม่ถึงร้อยละ 70 ของขยะที่เกิดขึ้น จึงทำให้เกิดปริมาณขยะมูลฝอยตกค้างตามสถานที่ต่าง ๆ หรือมีการนำไปกำจัดโดยวิธีกองบนพื้นซึ่งไม่ถูกต้องตามหลักสุขาภิบาลก่อให้เกิดปัญหาสิ่งแวดล้อม อากาศเสีย น้ำเสีย เป็นแหล่งพาหะนำโรค และเป็นเหตุรำคาญหรือความไม่น่าดูในชุมชน ซึ่งตำบลแหลมสน อำเภอละงู จังหวัดสตูล นับเป็นตำบลหนึ่งที่ยังพบปัญหาการจำกัดขยะตามบ้านเรือนในชุมชน ตามแนวชายฝั่งทะเล เนื่องจากเป็นตำบลแหล่งท่องเที่ยวที่มีทิวทัศน์ทางทะเลที่สวยงาม แต่ยังพบกองขยะมูลฝอยให้เห็นอย่างต่อเนื่องทั้งนี้ตำบลแหลมสนไม่ได้ดำเนินการสำรวจปริมาณขยะทั้งหมดภายในตำบล แต่จากการสำรวจการจัดการขยะในครัวเรือนจำนวน 239 หลังคาเรือนในโครงการเสริมสร้างพลังชุมชนด้วยบ้านต้นแบบด้านการส่งเสริมสุขภาพ ภายใต้ตำบลจัดการสุขภาพ ในปี 2562 ได้สำรวจในประเด็นการจัดการขยะในครัวเรือน พบว่าร้อยละ 66.37มีการคัดแยกขยะออกเป็น 2 ประเภท คือขยะเปียก ขยะแห้ง, ร้อยละ 27.05 ครัวเรือนมีการคัดแยกขยะออกเป็น 3 ประเภท คือขยะอินทรีย์ ขยะรีไซเคิล และขยะทั่วไป และร้อยละ 6.58 ครัวเรือนไม่มีการคัดแยกขยะโดยรวมขยะทุกประเภทในถุงเดียวกัน ในประเด็นวิธีการทำลายขยะในครัวเรือน พบว่ามีการกำจัดด้วยวิธีการเผาบนหน้าดินร้อยละ 56.48, ฝั่งกลบร้อยละ 25.11 และทิ้งขยะบนผิวดินปล่อยให้ย่อยสลายเองตามธรรมชาติร้อยละ 18.41 โดยโครงการดังกล่าวให้ความสำคัญกับกิจกรรมคัดแยกขยะต้นทางในครัวเรือน และค้นหาบ้านต้นแบบที่มีการบริหารจัดการแบบบูรณาการทั้งด้านการส่งเสริมสุขภาพและการจัดการสิ่งแวดล้อมให้เอื้อต่อการมีสุขภาพที่ดี และผลการดำเนินงานโครงการเสริมสร้างพลังชุมชนด้วยบ้านต้นแบบด้านการส่งเสริมสุขภาพ ภายใต้ตำบลจัดการสุขภาพ ในปี 2563พบว่ามีบ้านที่เข้าร่วมกิจกรรมบ้านต้นแบบด้านการส่งเสริมสุขภาพจำนวน 239 หลังคาเรือน คิดเป็นร้อยละ 34.14 และมีบ้านที่เข้าร่วมประกวดบ้านต้นแบบด้านการส่งเสริมสุขภาพจำนวน 81 หลังคาเรือน คิดเป็นร้อยละ 11.57จำแนกตามหมู่บ้าน ดังรายละเอียดปรากฏตามตาราง
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- เพื่อส่งเสริมให้ครัวเรือนในเขตรับผิดชอบเข้าร่วมโครงการคัดแยกขยะต้นทางในครัวเรือนเพิ่มขึ้น
- เพื่อค้นหาบ้านต้นแบบในการคัดแยกขยะ สามารถเป็นแบบอย่างให้กับครัวเรือนอื่นๆได้
กิจกรรม/การดำเนินงาน
- กิจกรรมอบรมให้ความรู้การคัดแยกขยะต้นทางในครัวเรือน 4 หมู่บ้านในเขตรับผิดชอบ และรับสมัครครัวเรือนเข้าร่วม กิจกรรมคัดแยกขยะ
- กิจกรรมประชาสัมพันธ์ และสร้างกระแสการคัดแยกขยะให้เกิดความต่อเนื่อง
- กิจกรรมประชุมวางแผนงานคณะกรรมการตำบลและคณะกรรมการหมู่บ้าน จำนวน 2 ครั้ง (คณะกรรมการ 25คน และเจ้าหน้าที่สาธารณสุข 5 คน)
- กิจกรรมประชุมตรวจเยี่ยมเพื่อเสริมกำลังใจ และประเมินครัวเรือนที่เข้าร่วมโครงการ (คณะกรรมการ 25 คน และเจ้าหน้าที่สาธารณสุข 5 คน)
- สรุปผลกิจกรรมการดำเนินงานโครงการและมอบเกียรติบัตรแด่ครัวเรือนต้นแบบดีเด่น
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้ | |
---|---|---|
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | ||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | ||
กลุ่มวัยทำงาน | 180 | |
กลุ่มผู้สูงอายุ | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | ||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | ||
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] |
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
ประชาชนมีความรู้ และมีการคัดแยกขยะที่ถูกต้อง โดยสามารถลดปริมาณการใช้ขยะ (คิดก่อนใช้)ขยะมูลฝอยได้รับการกำจัดที่ถูกต้องและขยะรีไซเคิลสร้างรายได้ให้กับครัวเรือน
ครัวเรือนในเขตรับผิดชอบมีส่วนร่วมในการจัดการขยะในชุมชนและสถานที่สาธารณะ
ทุกภาคส่วนทั้งภาครัฐ ภาคีเครือข่ายในชุมชน และประชาชนมีการรวมตัวกันทำกิจกรรมที่ส่งเสริมการจัดการสิ่งแวดล้อมที่เอื้อต่อการมีสุขภาพที่ดีของประชาชนในตำบลแหลมสน
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้ ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์** กิจกรรมของโครงการ | ผลผลิต* | |
---|---|---|
ผลผลิตที่ตั้งไว้ | ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง |
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ | สถานการณ์ | เป้าหมาย | ผลผลิต | อธิบาย | |
---|---|---|---|---|---|
1 | เพื่อส่งเสริมให้ครัวเรือนในเขตรับผิดชอบเข้าร่วมโครงการคัดแยกขยะต้นทางในครัวเรือนเพิ่มขึ้น ตัวชี้วัด : 1. ร้อยละ 50ของครัวเรือนทั้งหมด (ทั้งครัวเรือนเก่าและใหม่) สมัครเข้าร่วมโครงการคัดแยกขยะต้นทาง และมีการบริหารจัดการขยะอย่างเป็นรูปธรรมชัดเจน |
0.00 |
|
||
2 | เพื่อค้นหาบ้านต้นแบบในการคัดแยกขยะ สามารถเป็นแบบอย่างให้กับครัวเรือนอื่นๆได้ ตัวชี้วัด : 1. ในแต่ละชุมชนมีบ้านต้นแบบอย่างน้อย 10 หลังคาเรือนที่เห็นเป็นรูปธรรมชัดเจน สามารถลดปริมาณขยะได้ |
0.00 |
|
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
---|---|---|---|
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด | 180 | ||
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | |||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | - | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | - | ||
กลุ่มวัยทำงาน | 180 | ||
กลุ่มผู้สูงอายุ | - | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | |||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | - | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | - | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | - | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | - | ||
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] | - |
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อส่งเสริมให้ครัวเรือนในเขตรับผิดชอบเข้าร่วมโครงการคัดแยกขยะต้นทางในครัวเรือนเพิ่มขึ้น (2) เพื่อค้นหาบ้านต้นแบบในการคัดแยกขยะ สามารถเป็นแบบอย่างให้กับครัวเรือนอื่นๆได้
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) กิจกรรมอบรมให้ความรู้การคัดแยกขยะต้นทางในครัวเรือน 4 หมู่บ้านในเขตรับผิดชอบ และรับสมัครครัวเรือนเข้าร่วม กิจกรรมคัดแยกขยะ (2) กิจกรรมประชาสัมพันธ์ และสร้างกระแสการคัดแยกขยะให้เกิดความต่อเนื่อง (3) กิจกรรมประชุมวางแผนงานคณะกรรมการตำบลและคณะกรรมการหมู่บ้าน จำนวน 2 ครั้ง (คณะกรรมการ 25คน และเจ้าหน้าที่สาธารณสุข 5 คน) (4) กิจกรรมประชุมตรวจเยี่ยมเพื่อเสริมกำลังใจ และประเมินครัวเรือนที่เข้าร่วมโครงการ (คณะกรรมการ 25 คน และเจ้าหน้าที่สาธารณสุข 5 คน) (5) สรุปผลกิจกรรมการดำเนินงานโครงการและมอบเกียรติบัตรแด่ครัวเรือนต้นแบบดีเด่น
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค | สาเหตุ | ข้อเสนอแนะ |
---|---|---|
|
|
|
โครงการครัวเรือนร่วมใจคัดแยกขยะต้นทาง เพื่อชุมชนสะอาด โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลแหลมสน จังหวัด สตูล
รหัสโครงการ 2563-L5314-1-02
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
( โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลแหลมสน )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......