กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

stars
1. รายละเอียดโครงการ
ชื่อโครงการ โครงการประเมินพัฒนาการเด็กปฐมวัยบ้านหนองกางเขน ปีงบประมาณ 2563
รหัสโครงการ 63 L2547 02 24
ประเภทการสนับสนุน ประเภท 2 สนับสนุนกิจกรรมสร้างเสริมสุขภาพ การป้องกันโรคของกลุ่มหรือองค์กรประชาชน/หน่วยงานอื่น
หน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มคน ที่รับผิดชอบโครงการ หน่วยบริการหรือสถานบริการสาธารณสุข เช่น รพ.สต.
ชื่อองค์กรที่รับผิดชอบ รพ.สต.หมู่ที่ 4 บ้านหนองกางเขน
วันที่อนุมัติ 1 ธันวาคม 2562
ระยะเวลาดำเนินโครงการ 1 ธันวาคม 2562 - 30 กันยายน 2563
กำหนดวันส่งรายงาน 30 กันยายน 2563
งบประมาณ 15,240.00 บาท
ผู้รับผิดชอบโครงการ ชมรมอาสาสมัครสาธารณสุขหมู่ที่ 4 บ้านหนองกางเขน
พี่เลี้ยงโครงการ
พื้นที่ดำเนินการ ตำบลบางแม่นาง อำเภอบางใหญ่ จังหวัดนนทบุรี
ละติจูด-ลองจิจูด place
stars
2. ความสอดคล้องกับแผนงาน
แผนงานเด็ก เยาวชน ครอบครัว
stars
3. งวดสำหรับการทำรายงาน
งวดวันที่งวดโครงการวันที่งวดรายงานงบประมาณ
(บาท)
จากวันที่ถึงวันที่จากวันที่ถึงวันที่
1 17 มิ.ย. 2563 17 มิ.ย. 2563 15,240.00
รวมงบประมาณ 15,240.00
stars
4. กลุ่มเป้าหมาย

(ตามแนบท้ายประกาศคณะอนุกรรมการส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรคฯ พ.ศ. 2557)

กลุ่มเป้าหมายจำนวน(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน 203 keyboard_arrow_down

กิจกรรมหลักตามกลุ่มเป้าหมาย กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน :

กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
stars
5. หลักการและเหตุผล/สถานการณ์
สถานการณ์ปัญหาขนาด

ความสำคัญของโครงการ สถานการณ์ หลักการและเหตุผล

เด็กแรกเกิดถึง 5 ปี เป็นช่วงวัยที่สำคัญที่สุดของการเจริญเติบโต ทั้งร่างกาย จิตใจ อารมณ์ สังคมและสติปัญญา โดยเฉพาะด้านสมองซึ่งมีการเติบโตร้องละ 80ของผู้ใหญ่ เป็นวัยที่สำคัญเหมาะสมในการปูพื้นฐานเพื่อยกระดับการพัฒนาคุณภาพชีวิต การเปลี่ยนแปลงของพัฒนาการด้านหนึ่งย่อมมีผลให้พัฒนาการอีกด้านหนึ่งเปลี่ยนแปลงไปด้วย เช่น เด็กที่มีร่างกายแข็งแรงสมบูรณ์มักเคลื่อนไหวคล่องแคล่ว สามารถช่วยเหลือตนเองได้ มีอารมณ์แจ่มใส รู้จักควบคุมอารมณ์ เข้ากับผู้อื่นได้ดี และมีความสนใจเรียนรู้สิ่งรอบตัว ในทางตรงกันข้ามเด็กที่มีสุขภาพไม่ดี มักประสบปัญญาด้านการเจริญเติบโตของร่างกายล่าช้า หรือหยุดชะงักชั่วขณะ อารมณ์หงุดหงิดง่าย มีอาการเศร้าซึม ปรับตัวเข้ากับผู้อื่นได้ยาก และขาดสมาธิในการเรียนรู้สิ่งต่างๆ ในปี2561 พบเด็กไทยมีพัฒนาการสงสัยล่าช้าถึง 8,006 คน จำนวนนี้มีเพียง 2,440 คน หรือร้อยละ 30.48 ที่สามารถติดตามให้เข้ารับการกระตุ้นพัฒนาการ อีกร้อยละ 19.19 อยู่ระหว่างการติดตาม และร้อยละ 50.85 ไม่สามารถติดตามได้ และในจำนวนที่เข้ารับการกระตุ้นยังมีในส่วนที่เข้ารับการกระตุ้นไม่ครบเกณฑ์ ถึง 1,160 คน ปัจจัยที่ทำให้เด็กไม่ได้มารับการกระตุ้นพัฒนาการ มีหลายปัจจัย เช่น บุคลากรขาดทักษะการสื่อสารที่ชัดเจนกับพ่อแม่ ผู้ปกครอง หรือพ่อแม่ผู้ปกครองเองมีปัญหาทางเศรษฐกิจ มีทัศนคติต่อการเลี้ยงดูลูก ที่เป็นอุปสรรคต่อการนำเด็กเข้ารับการพัฒนา หรือด้านระบบที่ต้องเป็นรูปธรรมมากขึ้น เพื่อให้เด็กวัยดังกล่าวมีพัฒนาการที่สมวัย และสามารถเข้ารับการติดตามการกระตุ้นพัฒนาการอย่างต่อเนื่องได้ในกรณีที่พบความล่าช้า

stars
6. วัตถุประสงค์/เป้าหมาย
วัตถุประสงค์/ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดปัญหาเป้าหมาย 1 ปี
1 เพื่อให้อาสาสมัครสาธารณสุข มีความรู้และสามารถทดสอบพัฒนาการของเด็กในพื้นที่

ร้อยละของอาสาสมัครสาธารณสุขสามารถนำความรู้ไม่ใช้ในการทดสอบพัฒนาการได้

80.00
2 เพื่อให้อาสาสมัครสาธารณสุข ดำเนินการเฝ้าระวังพัฒนาการเด็กในพื้นที่

ร้อยละของเด็กที่ได้รับการคัดกรองพัฒนาการ

80.00
stars
7. การดำเนินงาน/กิจกรรม
วันที่ชื่อกิจกรรมกลุ่มเป้าหมาย
(คน)
งบกิจกรรม
(บาท)
ทำแล้ว
 
ใช้จ่ายแล้ว
(บาท)

วัตถุประสงค์ข้อที่ 1 : เพื่อให้อาสาสมัครสาธารณสุข มีความรู้และสามารถทดสอบพัฒนาการของเด็กในพื้นที่

รวม 0 0.00 0 0.00

วัตถุประสงค์ข้อที่ 2 : เพื่อให้อาสาสมัครสาธารณสุข ดำเนินการเฝ้าระวังพัฒนาการเด็กในพื้นที่

รวม 0 0.00 0 0.00

ไม่ระบุวัตถุประสงค์

1 ธ.ค. 62 - 30 ก.ย. 63 ตรวจพัฒนาการเด็กอายุ 0 - 5 ปี 50.00 0.00 -
17 มิ.ย. 63 อบรมการตรวจคัดกรองพัฒนาการ 30.00 15,240.00 -

หมายเหตุ : งบประมาณ และ ค่าใช้จ่าย รวมทุกวัตถุประสงค์อาจจะไม่เท่ากับงบประมาณรวมได้

 

stars
8. ผลที่คาดว่าจะได้รับ
  1. เด็กปฐมวัยทุกคน ได้รับการเฝ้าระวังตรวจประเมินพัฒนาการ
  2. เด็กที่มีพัฒนาการไม่สมวัยได้รับการตรวจคัดกรองและแก้ไขปัญหาอย่างเหมาะสม
stars
9. เอกสารประกอบโครงการ

โครงการเข้าสู่ระบบเมื่อวันที่ 24 ก.ค. 2563 09:59 น.