กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลดอนประดู่


“ ชุมชนห่วงใยใส่ใจ ดูแลสุขภาพผู้สูงอายุ ”

รพ.สต.บ้านไทรพอน ตำบลดอนประดู่ อำเภอปากพะยูน จังหวัดพัทลุง

หัวหน้าโครงการ
นายจบ ยิ้มแก้ว

ชื่อโครงการ ชุมชนห่วงใยใส่ใจ ดูแลสุขภาพผู้สูงอายุ

ที่อยู่ รพ.สต.บ้านไทรพอน ตำบลดอนประดู่ อำเภอปากพะยูน จังหวัดพัทลุง จังหวัด พัทลุง

รหัสโครงการ 60-L3336-2-11 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 เมษายน 2560 ถึง 30 กันยายน 2560


กิตติกรรมประกาศ

"ชุมชนห่วงใยใส่ใจ ดูแลสุขภาพผู้สูงอายุ จังหวัดพัทลุง" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน รพ.สต.บ้านไทรพอน ตำบลดอนประดู่ อำเภอปากพะยูน จังหวัดพัทลุง

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลดอนประดู่ ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
ชุมชนห่วงใยใส่ใจ ดูแลสุขภาพผู้สูงอายุ



บทคัดย่อ

โครงการ " ชุมชนห่วงใยใส่ใจ ดูแลสุขภาพผู้สูงอายุ " ดำเนินการในพื้นที่ รพ.สต.บ้านไทรพอน ตำบลดอนประดู่ อำเภอปากพะยูน จังหวัดพัทลุง รหัสโครงการ 60-L3336-2-11 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 เมษายน 2560 - 30 กันยายน 2560 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 10,000.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลดอนประดู่ เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

ประเทศไทยได้ก้าวเข้าสู่สังคมผู้สุงอายุตั้งแต่ปี พ.ศ.2553 โดยใช้เวลาเพียง 20 ปี ซึ่งเร็วกว่าประเทศที่พัฒนาแล้ว ส่วนใหญ่ใช้เวลาเข้าสู่สังคมผู้สูงอายุ ประมาณ 60 ปี ขึ้นไป ประชากรสูงอายุไทรเพิ่มขึ้นอย่างต่อเนื่องโดยในปี พ.ศ.2548 มีผู้สูงอายุจำนวน 6.7 ล้านคน คิดเป็นร้อยละ 10.3 และจะเพิ่มเป็นอีก 2 เท่าตัวในปี พ.ศ.2568 เป็น 14 ล้านคน หรือร้อยละ 20 ของประชากร และในปี พ.ศ.2573 ไทยจะมีประชากรสูงอายุประมาณ 1 ใน 4 ของประชากร หรือกว่าร้อยละ 25 ของประชากร การที่อายุยืนยาวขึ้นของผู้สูงอายุส่งผลกระทบทั้งในด้านปัญหาสุขภาพ ปัญหาเศรษฐกิจและสังคม โดยปัญหาสุขภาพที่พบมากในผู้สูงอายุได้แก่ปัญหา การได้ยินและการมองเห็น การสื่อสาร การเคลื่อนไหวร่างกายและอุบัติเหตุ ปัญหาในการขบเคี้ยวอาหารและการขับถ่าย ปัญหาสภาพจิตใจ โรคสมองเสื่อมและปัญหาการเจ็บป่วยด้วยโรคเรื้อรัง ซึ่งพบว่าในเขตรับผิดชอบ ม.1, ม.8, ม.9 และม.10 ตำบลดอนประดู่ มีผู้สูงอายุจำนวน 305 ราย เป็นผู้สูงอายุติดสังคมจำนวน 288 ราย คิดเป็นร้อยละ 94.43 ผู้สูงอายุติดบ้านจำนวน 12 ราย คิดเป็นร้อยละ 3.93 และเป็นผู้สูงอายุติดเตียงจำนวน 5 ราย คิดเ็นร้อยละ 1.64
จากสภาพปัญหาดังกล่าวข้างต้น ชมรมอาสาสมัครสาธารณสุขโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านไทรพอน เห็นความสำคัญและความจำเป็นในการดูแลผู้สูงอายุในชุมชน เพื่อป้องกันปัญหาการเจ็บป่วยเรื้อรังของผู้สูงอายุและความพิการที่จะตามมา และเสริมสร้างพลังกลุ่มต่าง ๆ องค์กรที่มีส่วนเกี่ยวข้องในชุมชนตั้งแต่ตัวของผู้ป่วย ผู้ดูแลผู้สูงอายุ กลุ่มอาสาสมัครดูแลผู้สูงอายุ กลุ่มอาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้าน (อสม.) และกลุ่มจิตอาสาอื่น ๆ ให้มีส่วนร่วมในการหาแนวทางในการดูแล การส่งเสริมสุขภาพผู้สูงอายุในชุมชน จึงได้จัดทำโครงการชุมชนห่วงใยใส่ใจ ดูแลสุขภาพผู้สูงอายุ ปีงบประมาณ 2560 ขึ้น อันจะส่งผลให้ผู้สูงอายุได้รับการดูแลที่ตรงตามปัญหาและความต้องการและสอดคล้องกับวิถีชีวิตและบริบทของชุมชน มีการดูแลผู้สูงอายุอย่างต่อเนื่องและการดูแลระยะยาว เพื่อให้ผู้สูงอายุมีสุขภาวะและคุณภาพชีวิตที่ดีต่อไป

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อส่งเสริมให้ผู้สูงอายุสามารถดูแลตนเอง สามารถดำเนินชีวิตประจำวันได้อย่างเหมาะสมและมีพฤติกรรมสุขภาพที่พึงประสงค์
  2. เพื่อให้ผู้สูงอายุได้รับการคัดกรอง ประเมินภาวะสุขภาพ และได้รับดูแลสุขภาพอย่างเหมาะสม
  3. เพื่อส่งเสริมสนับสนุนให้ชมรมผู้สูงอายุมีกิจกรรมอย่างต่อเนื่อง และมีการช่วยเหลือดูแลซึ่งกันและกัน

กิจกรรม/การดำเนินงาน

    กลุ่มเป้าหมาย

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
    กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
    กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
    กลุ่มวัยทำงาน
    กลุ่มผู้สูงอายุ
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
    กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
    กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
    กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
    กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
    สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

    ผลที่คาดว่าจะได้รับ

    1. ผู้สูงอายุสามารถดูแลตนเอง สามารถดำเนินชีวิตประจำวันได้อย่างเหมาะสมและมีพฤติกรรมสุขภาพที่พึงประสงค์
    2. ชมรมผู้สูงอายุมีกิจกรรมอย่างต่อเนื่อง และมีการช่วยเหลือดูแลซึ่งกันและกัน
    3. ชุมชนมีการส่งเสริมและดูแลผู้สูงอายุ

    ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

    วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
    ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
    กิจกรรมของโครงการ
    ผลผลิต*
    ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

    * ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
    ** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


    ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

    ผลการดำเนินโครงการ

    สรุปผลการดำเนินโครงการ

    ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
    บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
    บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
    ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

     

    ผลผลิตโครงการ

    วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
    1 เพื่อส่งเสริมให้ผู้สูงอายุสามารถดูแลตนเอง สามารถดำเนินชีวิตประจำวันได้อย่างเหมาะสมและมีพฤติกรรมสุขภาพที่พึงประสงค์
    ตัวชี้วัด : ร้อยละของผู้สูงอายุที่ต้องการความช่วยเหลือในการดำเนินกิจวัตรประจำวันพื้นฐาน ไม่เกินร้อยละ 15

     

    2 เพื่อให้ผู้สูงอายุได้รับการคัดกรอง ประเมินภาวะสุขภาพ และได้รับดูแลสุขภาพอย่างเหมาะสม
    ตัวชี้วัด : ร้อยละของผู้สูงอายุได้รับการคัดกรองและประเมินสมรรถนะเพื่อการดูแลด้วยเครื่องมือ ADL ไม่น้อยกว่าร้อยละ 90

     

    3 เพื่อส่งเสริมสนับสนุนให้ชมรมผู้สูงอายุมีกิจกรรมอย่างต่อเนื่อง และมีการช่วยเหลือดูแลซึ่งกันและกัน
    ตัวชี้วัด : ชมรมผู้สูงอายุมีกิจกรรมอย่างต่อเนื่อง และมีการช่วยเหลือดูแลซึ่งกันและกัน อย่างน้อย 1 ชมรม

     

    ผู้เข้าร่วมโครงการ

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 0
    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
    กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
    กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
    กลุ่มวัยทำงาน -
    กลุ่มผู้สูงอายุ -
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
    กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
    กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
    กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
    กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
    สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

    บทคัดย่อ*

    โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อส่งเสริมให้ผู้สูงอายุสามารถดูแลตนเอง สามารถดำเนินชีวิตประจำวันได้อย่างเหมาะสมและมีพฤติกรรมสุขภาพที่พึงประสงค์ (2) เพื่อให้ผู้สูงอายุได้รับการคัดกรอง ประเมินภาวะสุขภาพ และได้รับดูแลสุขภาพอย่างเหมาะสม (3) เพื่อส่งเสริมสนับสนุนให้ชมรมผู้สูงอายุมีกิจกรรมอย่างต่อเนื่อง และมีการช่วยเหลือดูแลซึ่งกันและกัน

    ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่

    ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

    หมายเหตุ *

    • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
    • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

    ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

    ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

     

     

     


    ชุมชนห่วงใยใส่ใจ ดูแลสุขภาพผู้สูงอายุ จังหวัด พัทลุง

    รหัสโครงการ 60-L3336-2-11

    ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

    ................................
    ( นายจบ ยิ้มแก้ว )
    ผู้รับผิดชอบโครงการ
    ......./............/.......

    vertical_align_topไปบนสุด