กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลเจ๊ะบิลัง


“ โครงการตรวจคัดกรองมะเร็งปาดมดลูกและมะเร็งเต้านม ตำบลเจ๊ะบิลัง ”

ตำบลเจ๊ะบิลัง อำเภอเมืองสตูล จังหวัดสตูล

หัวหน้าโครงการ
นางสาวฝาสีล๊ะหลีวัง

ชื่อโครงการ โครงการตรวจคัดกรองมะเร็งปาดมดลูกและมะเร็งเต้านม ตำบลเจ๊ะบิลัง

ที่อยู่ ตำบลเจ๊ะบิลัง อำเภอเมืองสตูล จังหวัดสตูล จังหวัด สตูล

รหัสโครงการ 7/2560 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 มิถุนายน 2560 ถึง 30 กันยายน 2560


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการตรวจคัดกรองมะเร็งปาดมดลูกและมะเร็งเต้านม ตำบลเจ๊ะบิลัง จังหวัดสตูล" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลเจ๊ะบิลัง อำเภอเมืองสตูล จังหวัดสตูล

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลเจ๊ะบิลัง ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการตรวจคัดกรองมะเร็งปาดมดลูกและมะเร็งเต้านม ตำบลเจ๊ะบิลัง



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการตรวจคัดกรองมะเร็งปาดมดลูกและมะเร็งเต้านม ตำบลเจ๊ะบิลัง " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลเจ๊ะบิลัง อำเภอเมืองสตูล จังหวัดสตูล รหัสโครงการ 7/2560 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 มิถุนายน 2560 - 30 กันยายน 2560 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 15,000.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลเจ๊ะบิลัง เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

องค์การอนามัยโลกได้ประมาณการณ์ไว้ว่าในปี 2563จะมีประชากรโลกตายด้วยโรคมะเร็งมากกว่า 11,000,000 คน อยู่ในประเทศกำลังพัฒนามากกว่า 7,000,000 คน ดังนั้น โรคมะเร็งจึงจัดเป็นปัญหาสาธารณสุขของโลกสำหรับประเทศไทยโรคมะเร็งเป็นสาเหตุการตายอันดับที่ 3 ของประชากรไทย ตามสถิติมีคนตายจากโรคมะเร็งประมาณวันละ 160 คน ปีหนึ่ง ๆ ตรวจพบผู้ป่วยโรคมะเร็งเพิ่มขึ้นโดยเฉลี่ย 64,000 ราย ต่อปี และเสียชีวิตปีละประมาณ30,000 ราย มะเร็งที่เกิดในสตรีมากที่สุด คือ มะเร็งปากมดลูก รองลงมาคือ มะเร็งเต้านม (สถิติสิบอันดับแรกของมะเร็งในสตรีของสถาบันมะเร็งแห่งชาติ )ซึ่งโรคมะเร็งปากมดลูกเป็นสาเหตุการตายอันดับสามรองมาจากโรคหัวใจและอุบัติเหตุมะเร็งปากมดลูกและมะเร็งเต้านม เป็นโรคที่สร้างความทุกข์ทรมานให้กับผู้หญิงทั่วโลกมะเร็งปากมดลูกเป็นมะเร็งที่พบมากที่สุดในสตรีไทย มีผู้ป่วยใหม่ปีละประมาณ 7,000 ราย ส่วนใหญ่พบเมื่ออายุมากกว่า 35 ปี ปัญหาของโรคมะเร็งปากมดลูกคือผู้ที่เป็นมักไม่มีอาการใด ๆ จนกว่าจะกลายเป็นระยะที่ลุกลามแล้วซึ่งยกต่อการรักษาให้หายขาดอย่างไรก็ดี โรคนี้สามารถตรวจและสืบค้นได้ตั้งแต่เซลล์เริ่มผิดปกติ การดำเนินโรคเป็นแบบค่อยค่อยไป ใช้ระนะเวลาค่อยข้างนาน อวัยวะปากมดลูกเป็นอวัยวะที่อยู่ในตำแหน่งที่สามารถตรวจได้ง่ายกว่าอวัยวะอื่น ทำให้แพทย์สามารถวินิจฉัยและรักษาได้ตั้งแต่ระยะเริ่มแรกหรือก่อนที่จะเป็นมะเร็งระยะลุกลาม การตรวจคัดกรองมะเร็งปากมดลูกจึงสามารถช่วยลดอุบัติการณ์ของโรคนี้ได้สถานการณ์โรคมะเร็งเต้านมของประเทศไทยในปัจจุบัน พบว่า ผู้หญิงไทย 1 แสนคน เป็นมะเร็งเต้านมถึง20 - 25 คน โดยพบผู้ป่วยมะเร็งเต้านม ปีละ 13,000 คน เสียชีวิตปีละ 4,600 คน อีกทั้ง ยังพบในผู้ที่มีอายุต่ำกว่า 40 ปี ถึงร้อยละ 33.4 โดยปัจจัยกลุ่มเสี่ยงมีทั้งผู้ที่มีอายุมากขึ้น กรรมพันธุ์ ความอ้วน ความเครียด การได้รับสารก่อมะเร็งในชีวิตประจำวัน และขาดการออกกำลังกาย มะเร็งเต้านม นับว่าเป็นภัยร้ายที่ไม่ควรมองข้ามสำหรับผู้หญิงทุกคน เพราะมะเร็งเต้านมนี้ไม่มีสัญญาณเตือนล่วงหน้า ถ้าหากมีอาการเกิดขึ้นเมื่อใด นั่นก็หมายความว่าโรคร้ายได้มาเยือนแล้ว มะเร็งเต้านมเป็นโรคที่เกิดจากการแบ่งตัวที่ผิดปกติของเซลล์ท่อน้ำนมหรือต่อมน้ำนมมีการเปลี่ยนแปลงจนเป็นมะเร็งเต้านม อาการของโรคที่พบบ่อยได้แก่ มีก้อนที่เต้านม บางรายอาจมีอาการเจ็บร่วมด้วย อาการอื่นเช่น มีเลือดออกทีหัวนม เต้านมบวมเป็นเปลือกส้ม ดังนั้นสิ่งที่รับมือได้ดีที่สุด เพื่อให้รู้เท่าทันมะเร็งเต้านมก็คือ การตรวจเต้านมเป็นประจำ เพื่อให้ทราบว่าเราไม่มีโรคร้ายแฝงอยู่ หรือถ้าพบในระยะต้น ก็จะทำให้การรักษามีประสิทธิภาพเป็นอย่างมาก ชมรมอาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้าน (อสม.) ชุมชนใต้ควน หมู่ที่ 2 ตำบลเจ๊ะบิลัง ได้ตระหนักถึงปัญหาดังกล่าว จึงได้จัดทำโครงการตรวจคัดกรองมะเร็งปากมดลูกและมะเร็งเต้านม ปี 2560 ขึ้นเพื่อให้กลุ่มเป้าหมาย ได้มีความรู้และเข้าใจ พร้อมทั้งตระหนักและเห็นถึงความสำคัญของการตรวจค้นหาโรคมะเร็งปากมดลูกและโรคมะเร็งเต้านม ตลอดจนมีทักษะในการตรวจเต้านมด้วยตนเองมีความตื่นตัวในการเฝ้าระวังและเริ่มต้นสร้างสุขนิสัยการมีพฤติกรรมสุขภาพโดยการตรวจคัดกรองโรคด้วยตนเองเพื่อเฝ้าระวังโรคมะเร็งปากมดลูกและมะเร็งเต้านมต่อไป

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. 1. สตรีอายุ 30 – 60 ปีได้รับความรู้ ความเข้าใจ ในเรื่องโรคมะเร็งปากมดลูก และโรคมะเร็งเต้านม
  2. 2. สตรีอายุ 30 – 60 ปี ได้รับการตรวจคัดกรองมะเร็งปากมดลูก ด้วยวิธี Pap smear
  3. 3. สตรีอายุ 30 – 60 ปี ได้รับการตรวจเต้านมด้วยตนเองและปฏิบัติสม่ำเสมอเดือนละ 1 ครั้ง
  4. 4. ร้อยละ 100 ของผู้ที่ตรวจพบความผิดปกติของเซลล์ปากมดลูกหรือความผิดปกติที่เต้านมได้รับการตรวจวินิจฉัยรักษาเร่งด่วนและติดตามอย่างต่อเนื่อง

กิจกรรม/การดำเนินงาน

    กลุ่มเป้าหมาย

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
    กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
    กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
    กลุ่มวัยทำงาน 80
    กลุ่มผู้สูงอายุ
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
    กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
    กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
    กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
    กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
    สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

    ผลที่คาดว่าจะได้รับ

    1. กลุ่มเป้าหมายไม่น้อยกว่าร้อยละ 90 ได้รับความรู้ ความเข้าใจ เรื่องโรคมะเร็งปากมดลูก มะเร็งเต้านม
    2. กลุ่มเป้าหมายไม่น้อยกว่าร้อยละ 5 ได้รับการตรวจคัดกรองมะเร็งปากมดลูก ด้วยวิธี Pap smear
    3. กลุ่มเป้าหมายไม่น้อยกว่าร้อยละ70สามารถตรวจเต้านมได้ด้วยตนเองและปฏิบัติสม่ำเสมอ
    4. ผู้ที่ได้รับการตรวจพบความผิดปกติของเซลล์ปากมดลูกหรือความผิดปกติที่เต้านมทุกคนได้รับการตรวจวินิจฉัยรักษาเร่งด่วนและติดตามอย่างต่อเนื่อง

    ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

    วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
    ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
    กิจกรรมของโครงการ
    ผลผลิต*
    ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

    1. สำรวจประชากรกลุ่มเป้าหมาย (สตรีกลุ่ม อายุ 30-60 ปี )ภายในเขตตำบลเจ๊ะบิลัง,การอบรมให้ความรู้เรื่องทักษะการตรวจเต้านมด้วยตนเองและตรวจคัดกรองมะเร็งปากมดลูกแก่กลุ่มเป้าหมาย

    วันที่ 10 สิงหาคม 2560 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

     

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    1. กลุ่มเป้าหมายไม่น้อยกว่าร้อยละ 90 ได้รับความรู้ ความเข้าใจ เรื่องโรคมะเร็งปากมดลูก มะเร็งเต้านม
    2. กลุ่มเป้าหมายไม่น้อยกว่าร้อยละ 5 ได้รับการตรวจคัดกรองมะเร็งปากมดลูก ด้วยวิธี Pap smear
    3. กลุ่มเป้าหมายไม่น้อยกว่าร้อยละ  70  สามารถตรวจเต้านมได้ด้วยตนเอง  และปฏิบัติสม่ำเสมอ
    4. ผู้ที่ได้รับการตรวจพบความผิดปกติของเซลล์ปากมดลูกหรือความผิดปกติที่เต้านมทุกคนได้รับการตรวจวินิจฉัยรักษาเร่งด่วนและติดตามอย่างต่อเนื่อง

     

    80 80

    2. การตรวจคัดกรองมะเร็งปากมดลูก ด้วยวิธี Pap smear

    วันที่ 24 สิงหาคม 2560 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

     

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    1. กลุ่มเป้าหมายไม่น้อยกว่าร้อยละ 90 ได้รับความรู้ ความเข้าใจ เรื่องโรคมะเร็งปากมดลูก มะเร็งเต้านม
    2. กลุ่มเป้าหมายไม่น้อยกว่าร้อยละ 5 ได้รับการตรวจคัดกรองมะเร็งปากมดลูก ด้วยวิธี Pap smear
    3. กลุ่มเป้าหมายไม่น้อยกว่าร้อยละ  70  สามารถตรวจเต้านมได้ด้วยตนเอง  และปฏิบัติสม่ำเสมอ
    4. ผู้ที่ได้รับการตรวจพบความผิดปกติของเซลล์ปากมดลูกหรือความผิดปกติที่เต้านมทุกคนได้รับการตรวจวินิจฉัยรักษาเร่งด่วนและติดตามอย่างต่อเนื่อง

     

    104 104

    * ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
    ** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


    ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

    ผลการดำเนินโครงการ

    สรุปผลการดำเนินโครงการ

    ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
    บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
    บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
    ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

    1. กลุ่มเป้าหมายไม่น้อยกว่าร้อยละ 90 ได้รับความรู้ ความเข้าใจ เรื่องโรคมะเร็งปากมดลูก มะเร็งเต้านม
    2. กลุ่มเป้าหมายไม่น้อยกว่าร้อยละ 5 ได้รับการตรวจคัดกรองมะเร็งปากมดลูก ด้วยวิธี Pap smear
    3. กลุ่มเป้าหมายไม่น้อยกว่าร้อยละ  70  สามารถตรวจเต้านมได้ด้วยตนเอง  และปฏิบัติสม่ำเสมอ
    4. ผู้ที่ได้รับการตรวจพบความผิดปกติของเซลล์ปากมดลูกหรือความผิดปกติที่เต้านมทุกคนได้รับการตรวจวินิจฉัยรักษาเร่งด่วนและติดตามอย่างต่อเนื่อง

    ผลผลิตโครงการ

    วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
    1 1. สตรีอายุ 30 – 60 ปีได้รับความรู้ ความเข้าใจ ในเรื่องโรคมะเร็งปากมดลูก และโรคมะเร็งเต้านม
    ตัวชี้วัด : สตรีอายุ 30 – 60 ปีได้รับความรู้ ความเข้าใจ ในเรื่องโรคมะเร็งปากมดลูก และโรคมะเร็งเต้านม และลดอัตราการเกิดโรคได้

     

    2 2. สตรีอายุ 30 – 60 ปี ได้รับการตรวจคัดกรองมะเร็งปากมดลูก ด้วยวิธี Pap smear
    ตัวชี้วัด : กลุ่มเป้าหมายไม่น้อยกว่าร้อยละ 5 ได้รับการตรวจคัดกรองมะเร็งปากมดลูก ด้วยวิธี Pap smear

     

    3 3. สตรีอายุ 30 – 60 ปี ได้รับการตรวจเต้านมด้วยตนเองและปฏิบัติสม่ำเสมอเดือนละ 1 ครั้ง
    ตัวชี้วัด : กลุ่มเป้าหมายไม่น้อยกว่าร้อยละ70สามารถตรวจเต้านมได้ด้วยตนเองและปฏิบัติสม่ำเสมอ

     

    4 4. ร้อยละ 100 ของผู้ที่ตรวจพบความผิดปกติของเซลล์ปากมดลูกหรือความผิดปกติที่เต้านมได้รับการตรวจวินิจฉัยรักษาเร่งด่วนและติดตามอย่างต่อเนื่อง
    ตัวชี้วัด : ผู้ที่ได้รับการตรวจพบความผิดปกติของเซลล์ปากมดลูกหรือความผิดปกติที่เต้านมทุกคนได้รับการตรวจวินิจฉัยรักษาเร่งด่วนและติดตามอย่างต่อเนื่อง

     

    ผู้เข้าร่วมโครงการ

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 80
    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
    กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
    กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
    กลุ่มวัยทำงาน 80
    กลุ่มผู้สูงอายุ -
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
    กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
    กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
    กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
    กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
    สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

    บทคัดย่อ*

    โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) 1. สตรีอายุ 30 – 60 ปีได้รับความรู้ ความเข้าใจ ในเรื่องโรคมะเร็งปากมดลูก และโรคมะเร็งเต้านม (2) 2. สตรีอายุ 30 – 60 ปี ได้รับการตรวจคัดกรองมะเร็งปากมดลูก ด้วยวิธี Pap smear (3) 3. สตรีอายุ 30 – 60 ปี ได้รับการตรวจเต้านมด้วยตนเองและปฏิบัติสม่ำเสมอเดือนละ 1 ครั้ง (4) 4. ร้อยละ 100 ของผู้ที่ตรวจพบความผิดปกติของเซลล์ปากมดลูกหรือความผิดปกติที่เต้านมได้รับการตรวจวินิจฉัยรักษาเร่งด่วนและติดตามอย่างต่อเนื่อง

    ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่

    ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

    หมายเหตุ *

    • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
    • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

    ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

    ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

     

     

     


    โครงการตรวจคัดกรองมะเร็งปาดมดลูกและมะเร็งเต้านม ตำบลเจ๊ะบิลัง จังหวัด สตูล

    รหัสโครงการ 7/2560

    ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

    ................................
    ( นางสาวฝาสีล๊ะหลีวัง )
    ผู้รับผิดชอบโครงการ
    ......./............/.......

    vertical_align_topไปบนสุด