กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.นาปะขอ


“ โครงการเสริมพลังผู้ป่วยโรคเรื้อรังเพื่อปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพในการป้องกันโรคไต โรคหัวใจและโรคหลอดเลือด ”

ตำบลนาปะขอ อำเภอบางแก้ว จังหวัดพัทลุง

หัวหน้าโครงการ
ผู้อำนวยการโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านหาดไข่เต่า

ชื่อโครงการ โครงการเสริมพลังผู้ป่วยโรคเรื้อรังเพื่อปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพในการป้องกันโรคไต โรคหัวใจและโรคหลอดเลือด

ที่อยู่ ตำบลนาปะขอ อำเภอบางแก้ว จังหวัดพัทลุง จังหวัด พัทลุง

รหัสโครงการ 63-L3332-1-1 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 17 กันยายน 2563 ถึง 18 กันยายน 2563


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการเสริมพลังผู้ป่วยโรคเรื้อรังเพื่อปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพในการป้องกันโรคไต โรคหัวใจและโรคหลอดเลือด จังหวัดพัทลุง" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลนาปะขอ อำเภอบางแก้ว จังหวัดพัทลุง

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.นาปะขอ ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการเสริมพลังผู้ป่วยโรคเรื้อรังเพื่อปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพในการป้องกันโรคไต โรคหัวใจและโรคหลอดเลือด



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการเสริมพลังผู้ป่วยโรคเรื้อรังเพื่อปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพในการป้องกันโรคไต โรคหัวใจและโรคหลอดเลือด " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลนาปะขอ อำเภอบางแก้ว จังหวัดพัทลุง รหัสโครงการ 63-L3332-1-1 ระยะเวลาการดำเนินงาน 17 กันยายน 2563 - 18 กันยายน 2563 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 30,000.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.นาปะขอ เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

ปัจจุบันประเทศไทยได้เปลี่ยนแปลงไปอย่างรวดเร็ว ซึ่งมีผลกระทบมาจากกระแสการเปลี่ยนแปลงของสังคมโลกและการเปลี่ยนแปลงของประเทศไทยทั้งทางด้านการเมือง เศรษฐกิจ การแข่งขันทางการตลาด การสื่อสารและการคมนาคม รวมถึงการใช้เทคโนโลยีมากขึ้น ซึ่งการเปลี่ยนแปลงดังกล่าวมีผลกระทบต่อวิถีชีวิตและสุขภาพของประชาชนไทยเป็นอย่างมาก จะเห็นได้จากในอดีตปัญหาสุขภาพของประชาชนส่วนใหญ่เจ็บป่วยด้วยโรคติดเชื้อ แต่ในปัจจุบัน และในอนาคต ปัญหาสุขภาพจะมีผลกระทบมาจากสังคม สิ่งแวดล้อม และพฤติกรรมมากขึ้นตามลำดับ จะเห็นได้จากพฤติกรรมที่เป็นปัญหา เช่น พฤติกรรมการบริโภค พฤติกรรมการออกกำลังกาย พฤติกรรมความปลอดภัย การใช้ยาและสารเสพติด ปัญหาสุขภาพจิต เป็นต้น ดังนั้น การดำเนินการในการแก้ไขปัญหาสาธารณสุขของประเทศ จำเป็นจะต้องพัฒนาประชาชนให้มีองค์ความรู้ และทักษะที่จำเป็น และพัฒนาพฤติกรรมสุขภาพให้เหมาะสม ทั้งระดับบุคคลครอบครัว และชุมชนครอบคลุม กลุ่มประชากรเป้าหมาย เพื่อให้ประชาชนสามารถส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรคให้แก่ตนเอง ครอบครัว และชุมชนได้ ซึ่งการดำเนินงานดังกล่าวจำเป็นจะต้องส่งเสริมพัฒนาพฤติกรรมสุขภาพที่สำคัญๆ ที่ก่อให้เกิดปัญหาสาธารณสุขของประเทศ นโยบายสร้างหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้า ช่วยคนไทยห่างไกลโรค มีเป้าหมายที่สำคัญ คือ การสร้างสุขภาพที่ดีให้กับประชาชน และลดปัญหาค่าใช้จ่ายด้านสุขภาพในระยะยาว โดยใช้กระบวนการส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรค ซึ่งเป็นหัวใจสำคัญของการขับเคลื่อนให้การดำเนินงานช่วยคนไทยห่างไกลโรคให้บรรลุผลสำเร็จ โดยการส่งเสริมให้มีความรู้ และทักษะในการดูแลตนเอง และการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ โดยใช้หลัก ๓อ.๒ส. เป็นหลัก เพื่อให้มีสุขภาวะในทุกด้าน หลังการตรวจคัดกรองความเสี่ยงเพื่อ ค้นหาโรคในระยะเริ่มต้น
ปัจจัยสำคัญที่เชื่อว่าเป็นสาเหตุของโรคเรื้อรังคือ พฤติกรรมในการดำเนินชีวิตของบุคคลขาดความสมดุล เช่น การรับประทานอาหารไขมันสูง อาหารรสหวานจัดและเค็มจัด ไม่รับประทานผัก ผลไม้ ไม่ออกกำลังกาย การใช้ชีวิตที่สะดวกสบายเกินไป และการใช้สารเสพติด เป็นต้น นอกจากนั้นยังมีการระบุว่าความเครียดในชีวิตยังเป็นปัจจัยร่วมที่ทำให้เกิดโรคเรื้อรังได้ คนที่มีภาวะเสี่ยงต่อโรคเรื้อรังคือ ผู้มีภาวะอ้วน ผู้ที่มีคลอเรสเตอรอลในเลือดสูงผู้มีอายุเกิน 35 ปี ผู้ที่ขาดการออกกำลังกาย และผู้ที่มีภาวะเครียดสูงโรคหัวใจและหลอดเลือด (cardiovascular diseases)เป็นกลุ่มโรคที่เกิดกับระบบหัวใจและ หลอดเลือด เป็นปัญหาสาธารณสุขที่สำคัญระดับประเทศ ซึ่งเป็นสาเหตุการป่วย พิการและเสียชีวิตอันดับต้นๆ ของโลกรวมถึงประเทศไทยในปัจจุบัน โดยสามในสี่ของการเสียชีวิตด้วยโรคหัวใจและหลอดเลือดทั้งหมดเกิดจากโรคหัวใจขาดเลือด (ischaemic heart diseases) และโรคหลอดเลือดสมอง (cerebrovascular diseases) ซึ่งเกิดจากการที่หลอดเลือดตีบตันหรือขาดความยืดหยุ่นจากการสะสมของไขมัน โปรตีนและแร่ธาตุ ที่บริเวณผนังหลอดเลือด สาเหตุการเกิดโรคหัวใจและหลอดเลือดในคนไทยที่สำคัญ ได้แก่ ภาวะความดันโลหิตสูง ภาวะไขมันเลือดสูง เบาหวาน การสูบบุหรี่ และภาวะอ้วน การรักษาโรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูงโดยการให้ความสำคัญเฉพาะด้านการแพทย์อาจไม่เพียงพอ เพื่อการควบคุมโรคที่สมบูรณ์ ผู้ป่วยต้องได้รับความรู้เรื่องโรครวมไปถึงความรู้เรื่องโภชนาการและการออกกำลังกายที่ถูกต้อง พร้อมทั้งได้รับการกระตุ้นการเปลี่ยนพฤติกรรมผ่านกิจกรรมต่างๆ เช่น ค่ายเบาหวาน ความดันหรือกิจกรรมชมรมอย่างสม่ำเสมอซึ่งถ้าปฏิบัติตามอย่างเคร่งครัดตั้งแต่ระยะต้น ก็จะสามารถใช้ชีวิตอย่างมีความสุขโดยปราศจากโรคแทรกซ้อนได้ ดังนั้น โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านหาดไข่เต่า จึงจัดทำโครงการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพป้องกันโรคเบาหวาน ความดันโลหิตสูง หลอดเลือดสมอง ลดโรค ลดพุง ขึ้นเพื่อปรับ เปลี่ยนพฤติกรรมในการป้องกันโรคหัวใจและหลอดเลือดขึ้น เพื่อลดภาวะแทรกซ้อนของโรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูงแก้ปัญหาการเกิดโรคเรื้อรัง โรคหัวใจและหลอดเลือดที่อาจเกิดขึ้นได้ในอนาคต ลดภาระและการสูญเสียในทุกมิติ ทั้งกาย จิต สังคม เศรษฐกิจต่อผู้ป่วย ครอบครัว และประเทศชาติ เพื่อปรับ เปลี่ยนพฤติกรรมในการป้องกันโรคหัวใจและหลอดเลือดขึ้น

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อให้กลุ่มเป้าหมายมีความเชื่อในความสามารถของตนเองในการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมเพื่อควบคุมความ เสี่ยงของโรคเบาหวาน ความดันโลหิตสูง หัวใจและหลอดเลือดเพิ่มขึ้น
  2. เพื่อให้กลุ่มเป้าหมายมีพฤติกรรมการดูแลตนเองที่เหมาะสม ในเรื่องการรับประทานอาหาร การออกกำลังกาย การจัดการความเครียดด้วยตนเอง การรับประทาน3ยา ดูแลและเฝ้าระวังภาวะเสี่ยงที่ถูกต้องเพิ่มขึ้น
  3. เพื่อให้กลุ่มเป้าหมายมีภาวะสุขภาพที่ดีขึ้น หลังจากเข้าร่วมโครงการ โดยพิจารณาจากค่าดัชนีมวลกาย รอบเอว ค่าความดันโลหิต และระดับน้ำตาลในเลือด

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. จัดประชุมเชิงปฏิบัติการเพื่อแลกเปลี่ยนเรียนรู้เรื่องการดูแลสุขภาพการป้องกันโรคหัวใจและหลอดเลือดเพื่อลดภาวะแทรกซ้อนของโรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูงแก้ปัญหาการเกิดโรคเรื้อรัง โรคหัวใจและหลอดเลือดที่อาจเกิดขึ้นได้ในอนาคตแก่กลุ่มโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง
  2. ค่าจัดซื้อวัสดุอุปกรณ์ในการดำเนินการตามโครงการ
  3. จัดประชุมเชิงปฏิบัติการเพื่อแลกเปลี่ยนเรียนรู้เรื่องการดูแลสุขภาพการป้องกันโรคหัวใจและหลอดเลือดเพื่อลดการเกิดของโรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูงแก้ปัญหาการเกิดโรคเรื้อรัง โรคหัวใจและหลอดเลือดที่อาจเกิดขึ้นได้ในอนาคตแก่กลุ่มเสี่ยงโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง 60
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 60
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

1.ร้อยละ 80 ของผู้เข้าร่วมโครงการที่มีระดับน้ำตาลและความดันโลหิตสูงเกินเกณฑ์มีระดับความดันและระดับน้ำตาลลดลงไม่มีภาวะแทรกซ้อน สามารถควบคุมโรคได้ ลดอัตราการเกิดภาวะแทรกซ้อน ๒. อัตราป่วยด้วยโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูงรายใหม่ลดลง 3. ประชาชนกลุ่มเสี่ยงต่อโรคเบาหวาน/ความดันโลหิตสูง ได้รับการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมมีผลการ
ตรวจระดับน้ำตาลในเลือด/ระดับความดันโลหิต เปลี่ยนแปลงอยู่ในเกณฑ์ปกติ


ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เพื่อให้กลุ่มเป้าหมายมีความเชื่อในความสามารถของตนเองในการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมเพื่อควบคุมความ เสี่ยงของโรคเบาหวาน ความดันโลหิตสูง หัวใจและหลอดเลือดเพิ่มขึ้น
ตัวชี้วัด : กลุ่มเป้าหมายมีความสามารถในการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม
0.00

 

2 เพื่อให้กลุ่มเป้าหมายมีพฤติกรรมการดูแลตนเองที่เหมาะสม ในเรื่องการรับประทานอาหาร การออกกำลังกาย การจัดการความเครียดด้วยตนเอง การรับประทาน3ยา ดูแลและเฝ้าระวังภาวะเสี่ยงที่ถูกต้องเพิ่มขึ้น
ตัวชี้วัด : กลุ่มเป้าหมายมีพฤติกรรมการดูแลตนเองที่เหมาะสม
0.00

 

3 เพื่อให้กลุ่มเป้าหมายมีภาวะสุขภาพที่ดีขึ้น หลังจากเข้าร่วมโครงการ โดยพิจารณาจากค่าดัชนีมวลกาย รอบเอว ค่าความดันโลหิต และระดับน้ำตาลในเลือด
ตัวชี้วัด : กลุ่มเป้าหมายมีภาวะสุขภาพที่ดีขึ้น ค่าดัชนีมวลกาย รอบเอว ค่าความดันโลหิต และระดับน้ำตาลในเลือดอยู่ในเกณฑ์ปกติ
0.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 120
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง 60
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 60
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อให้กลุ่มเป้าหมายมีความเชื่อในความสามารถของตนเองในการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมเพื่อควบคุมความ  เสี่ยงของโรคเบาหวาน ความดันโลหิตสูง หัวใจและหลอดเลือดเพิ่มขึ้น (2) เพื่อให้กลุ่มเป้าหมายมีพฤติกรรมการดูแลตนเองที่เหมาะสม ในเรื่องการรับประทานอาหาร การออกกำลังกาย การจัดการความเครียดด้วยตนเอง การรับประทาน3ยา  ดูแลและเฝ้าระวังภาวะเสี่ยงที่ถูกต้องเพิ่มขึ้น (3) เพื่อให้กลุ่มเป้าหมายมีภาวะสุขภาพที่ดีขึ้น หลังจากเข้าร่วมโครงการ โดยพิจารณาจากค่าดัชนีมวลกาย รอบเอว ค่าความดันโลหิต และระดับน้ำตาลในเลือด

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) จัดประชุมเชิงปฏิบัติการเพื่อแลกเปลี่ยนเรียนรู้เรื่องการดูแลสุขภาพการป้องกันโรคหัวใจและหลอดเลือดเพื่อลดภาวะแทรกซ้อนของโรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูงแก้ปัญหาการเกิดโรคเรื้อรัง โรคหัวใจและหลอดเลือดที่อาจเกิดขึ้นได้ในอนาคตแก่กลุ่มโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง (2) ค่าจัดซื้อวัสดุอุปกรณ์ในการดำเนินการตามโครงการ (3) จัดประชุมเชิงปฏิบัติการเพื่อแลกเปลี่ยนเรียนรู้เรื่องการดูแลสุขภาพการป้องกันโรคหัวใจและหลอดเลือดเพื่อลดการเกิดของโรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูงแก้ปัญหาการเกิดโรคเรื้อรัง โรคหัวใจและหลอดเลือดที่อาจเกิดขึ้นได้ในอนาคตแก่กลุ่มเสี่ยงโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการเสริมพลังผู้ป่วยโรคเรื้อรังเพื่อปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพในการป้องกันโรคไต โรคหัวใจและโรคหลอดเลือด จังหวัด พัทลุง

รหัสโครงการ 63-L3332-1-1

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( ผู้อำนวยการโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านหาดไข่เต่า )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด