กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนหลักประกันสุขภาพตำบล อบต.บาโงสะโต


“ โครงการชุมชนมีส่วนร่วม ควบคุมและป้องกันโรคไข้เลือดออก ปี 2563 ”

ตำบลบาโงสะโต อำเภอระแงะ จังหวัดนราธิวาส

หัวหน้าโครงการ
นางวนิดา สนิ

ชื่อโครงการ โครงการชุมชนมีส่วนร่วม ควบคุมและป้องกันโรคไข้เลือดออก ปี 2563

ที่อยู่ ตำบลบาโงสะโต อำเภอระแงะ จังหวัดนราธิวาส จังหวัด นราธิวาส

รหัสโครงการ 63-L8423-01-06 เลขที่ข้อตกลง 17/2563

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 26 สิงหาคม 2563 ถึง 30 กันยายน 2563


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการชุมชนมีส่วนร่วม ควบคุมและป้องกันโรคไข้เลือดออก ปี 2563 จังหวัดนราธิวาส" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลบาโงสะโต อำเภอระแงะ จังหวัดนราธิวาส

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนหลักประกันสุขภาพตำบล อบต.บาโงสะโต ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการชุมชนมีส่วนร่วม ควบคุมและป้องกันโรคไข้เลือดออก ปี 2563



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการชุมชนมีส่วนร่วม ควบคุมและป้องกันโรคไข้เลือดออก ปี 2563 " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลบาโงสะโต อำเภอระแงะ จังหวัดนราธิวาส รหัสโครงการ 63-L8423-01-06 ระยะเวลาการดำเนินงาน 26 สิงหาคม 2563 - 30 กันยายน 2563 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 20,400.00 บาท จาก กองทุนหลักประกันสุขภาพตำบล อบต.บาโงสะโต เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

ในปัจจุบันโรคติดต่อที่สำคัญหลายโรคที่ไม่เกิดอันตรายต่อมนุษย์ ได้กลับมาเป็นโรคติดต่อที่อันตรายและมีความรุนแรงมาก มีผลกระทบต่อมวลมนุษย์ทั้งทางด้านสังคม เศรษฐกิจและการเมือง เช่น โรคไข้หวัดนก โรคไข้หวัดใหญ่สายพันธุ์ใหม่ โรคติดต่อทางระบบหายใจรุนแรงเฉียบพลัน เป็นต้น ซึ่งถือได้ว่าเป็นโรคติดต่ออุบัติใหม่ของศตวรรษที่ 21 ซึ่งก่อให้เกิดผลกระทบที่รุนแรงไปทั่วโลก โดยเฉพาะในภูมิภาคเอเชียได้รับผลกระทบมากที่สุดอันเนื่องมาจากเป็นโรคที่ติดต่อง่าย ส่งผลให้เกิดการแพร่ระบาดไปยังประเทศต่างๆทั่วโลกอย่างรวดเร็ว ทำให้มีผู้ป่วยและผู้เสียชีวิตไปเป็นจำนวนมาก ดังจะเห็นได้จากรายงานขององค์การอนามัยโลก จึงเป็นมูลเหตุให้เกิดความวิตก กังวล และความกลัวในวงกว้าง ทั้งในกลุ่มประชาชนทั่วไปและกลุ่มบุคคลที่มีหน้าที่เกี่ยวข้อง
กระทรวงสาธารณสุข จึงได้เห็นชอบนโยบายอำเภอ ตำบลควบคุมโรคเข้มแข็งแบบยั่งยืน โดยใช้อำเภอเป็นจุดเชื่อมโยงการบริหารจัดการทรัพยากรในการดำเนินงานเฝ้าระวัง ป้องกัน ควบคุมโรคและภัยสุขภาพ ระหว่างกระทรวงสาธารณสุขและองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ให้เกิดระบบเฝ้าระวังป้องกัน ควบคุมโรคและภัยสุขภาพระดับอำเภอที่มีประสิทธิภาพ และประสิทธิผลต่อสุขภาพของประชาชนในพื้นที่ทันเหตุการณ์ โดยกำหนดคุณลักษณะตำบลควบคุมโรคเข้มแข็งแบบยั่งยืน ๕ ด้าน ประกอบด้วย มีคณะกรรมการป้องกันโรคและภัยสุขภาพ มีระบบระบาดวิทยาระดับที่ดี มีการวางแผนป้องกัน ควบคมโรคและภัยสุขภาพ มีการระดมทรัพยากรหรือการสนับสนุนงบประมาณจากหน่วยงานที่เกี่ยวข้องเป็นรูปธรรม มีผลสำเร็จของการควบคุมป้องกันโรคที่สำคัญ โดยกรมควบคุมโรคได้จัดกระบวนการการระดมความคิดเห็น สื่อสาร ประชาสัมพันธ์ หลักคิด ประโยชน์และแนวทางการพัฒนา “ตำบลควบคุมโรคเข้มแข็งแบบยั่งยืน” กับเครือข่ายหลักที่สำคัญ ได้แก่ สาธารณสุขอำเภอ องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล อาสาสมัครสาธารณสุข และเครือข่ายในชุมชนอื่นๆ ตลอดจนในปี 2562 ได้มีการระบาดอย่างหนักของโรคไข้เลือดในเขตรับผิดชอบของโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านเจ๊ะเก มีจำนวนและอัตราป่วยด้วยโรคไข้เลือดที่สูงมาก โดยเฉพาะในสามเดือนสุดท้ายของปีการรายงานผู้ป่วยอย่างต่อเนื่อง สรุปปี 2562 มีจำนวนผู้ป่วยทั้งสิ้น 28 ราย คิดเป็น 314.57/แสน ประชากร ด้วยปัญหาดังกล่าวจึงมีความจำเป็นที่จะต้องสร้างเครือข่ายการดำเนินงานด้านควบคุมโรคที่เข้มแข็งในพื้นที่ผ่านกระบวนการหรือกลไกตำบลควบคุมโรคเข้มแข็งแบบยั่งยืน ดังนั้นโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล บ้านเจ๊ะเก จึงเล็งเห็นถึงความสำคัญของโครงการสร้างชุมชนมีส่วนร่วม ควบคุมและป้องกันโรคไข้เลือดออก ปี 2563 เพื่อสร้างทีมปฏิบัติงานระดับตำบลที่เข้มแข็ง มีระบบการเฝ้าระวังที่ดี มีประสิทธิภาพ และประสิทธิผล สามารถควบคุมและป้องกันโรคระบาดในชุมชนได้อย่างยั่งยืนต่อไป

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. . เพื่อพัฒนาศักยภาพบุคลากรตำบลให้มีความพร้อมในการดูแล เฝ้าระวัง และควบคุมโรคในชุมชน
  2. เพื่อพัฒนาทีมตำบลควบคุมโรคเข้มแข็งแบบยั่งยืน ให้บรรลุตามเป้าหมาย

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. อบรมพัฒนาศักยภาพ “อสม.ควบคุมโรคระดับตำบล”
  2. อมรมพัฒนาศักยภาพและซ้อมแผนฯสำหรับทีม SRRT ตำบล
  3. ประชุมรายงานผล WARROOM SRRT 4 ครั้ง
  4. จัดอบรมแกนนำนักเรียนตัวแทนทุกโรงเรียน

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 80
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 99
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

  1. ชุมชนมีระบบ และมาตรการเฝ้าระวังโรคติดต่อที่มีประสิทธิภาพ มีส่วนร่วมอย่างเข้มแข็งในการดำเนินการเฝ้าระวังโรค และมุ่งเน้นการป้องกันโรคมากกว่าการรักษา
  2. ตำบลบาโงสะโตผ่านเกณฑ์มาตรฐาน SRRT ระดับตำบลสู่อำเภอควบคุมโรคเข้มแข็งแบบยั่งยืน

ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 . เพื่อพัฒนาศักยภาพบุคลากรตำบลให้มีความพร้อมในการดูแล เฝ้าระวัง และควบคุมโรคในชุมชน
ตัวชี้วัด :
0.00

 

2 เพื่อพัฒนาทีมตำบลควบคุมโรคเข้มแข็งแบบยั่งยืน ให้บรรลุตามเป้าหมาย
ตัวชี้วัด :
0.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 179
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 80
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 99
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) .  เพื่อพัฒนาศักยภาพบุคลากรตำบลให้มีความพร้อมในการดูแล เฝ้าระวัง และควบคุมโรคในชุมชน (2) เพื่อพัฒนาทีมตำบลควบคุมโรคเข้มแข็งแบบยั่งยืน ให้บรรลุตามเป้าหมาย

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) อบรมพัฒนาศักยภาพ “อสม.ควบคุมโรคระดับตำบล” (2) อมรมพัฒนาศักยภาพและซ้อมแผนฯสำหรับทีม SRRT ตำบล (3) ประชุมรายงานผล WARROOM SRRT 4 ครั้ง (4) จัดอบรมแกนนำนักเรียนตัวแทนทุกโรงเรียน

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการชุมชนมีส่วนร่วม ควบคุมและป้องกันโรคไข้เลือดออก ปี 2563 จังหวัด นราธิวาส

รหัสโครงการ 63-L8423-01-06

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นางวนิดา สนิ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด