กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนหลักประกันสุขภาพตำบล อบต.บาโงสะโต


“ โครงการสื่อสุขภาพ สื่อสารความรู้และประชาสัมพันธ์เพื่อสร้างความรอบรู้ด้านสุขภาพ ”

ตำบลบาโงสะโต อำเภอระแงะ จังหวัดนราธิวาส

หัวหน้าโครงการ
นางวนิดา สนิ

ชื่อโครงการ โครงการสื่อสุขภาพ สื่อสารความรู้และประชาสัมพันธ์เพื่อสร้างความรอบรู้ด้านสุขภาพ

ที่อยู่ ตำบลบาโงสะโต อำเภอระแงะ จังหวัดนราธิวาส จังหวัด นราธิวาส

รหัสโครงการ 63-L48423-01-01 เลขที่ข้อตกลง 12/2563

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 17 สิงหาคม 2563 ถึง 30 กันยายน 2563


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการสื่อสุขภาพ สื่อสารความรู้และประชาสัมพันธ์เพื่อสร้างความรอบรู้ด้านสุขภาพ จังหวัดนราธิวาส" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลบาโงสะโต อำเภอระแงะ จังหวัดนราธิวาส

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนหลักประกันสุขภาพตำบล อบต.บาโงสะโต ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการสื่อสุขภาพ สื่อสารความรู้และประชาสัมพันธ์เพื่อสร้างความรอบรู้ด้านสุขภาพ



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการสื่อสุขภาพ สื่อสารความรู้และประชาสัมพันธ์เพื่อสร้างความรอบรู้ด้านสุขภาพ " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลบาโงสะโต อำเภอระแงะ จังหวัดนราธิวาส รหัสโครงการ 63-L48423-01-01 ระยะเวลาการดำเนินงาน 17 สิงหาคม 2563 - 30 กันยายน 2563 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 40,000.00 บาท จาก กองทุนหลักประกันสุขภาพตำบล อบต.บาโงสะโต เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

ปัจจุบันปัญหาความเจ็บป่วยของชาวบ้าน และการระบาดของโรคเพิ่มมากขึ้นสาเหตุหลักสาเหตุหนึ่งมาจากการดำเนินงานของหน่วยงานสาธารณสุขที่เน้นงานตั้งรับและทำงานในระบบซ่อมสุขภาพ กล่าวคือ เป็นสถานบริการที่ทำหน้าที่ในการรักษาผู้ที่มีภาวะเจ็บป่วยเพียงอย่างเดียว บางสถานบริการก็มีการทำงานเชิงรุกเพื่อสร้างสุขภาพแต่ขาดความเข้มแข็งทั้งตัวของเจ้าหน้าที่เองและทีมงานดำเนินงานสาธารณสุขในชุมชนทำให้การดำเนินงานไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ที่วางไว้  ปัญหาความเจ็บป่วยของประชาชนและการระบาดของโรคจึงยังคงเป็นปัญหาสาธารณสุขที่ดูแล้วจะแก้ไม่ได้ แต่ถ้ากลับมามองในภาพรวมของปัญหาที่เกิดขึ้นในชุมชนปัญหาทุกอย่างที่เกิดขึ้นล้วนมีวิธีการแก้ไขปัญหา ที่สำคัญที่สุดการแก้ปัญหาสาธารณสุขจำเป็นต้องแก้ที่ต้นเหตุของปัญหานั่นหมายถึงการที่ต้องพยายามมุ่งเน้นงานเชิงรุกมากขึ้นเพื่อมุ่งหวังให้เกิดการสร้างสุขภาพภาคประชาชนให้มีความเข้มแข็งยกระดับความสามารถการดูแลตนเองของประชานให้มีระดับที่สูงขึ้นเพียงพอที่จะดูแล บรรเทาและประคับประคองภาวะสุขภาพที่มีความเป็นปัจเจกบุคคลในตัวเองได้อย่างสมควร อีกทั้งสิ่งหนึ่งที่มี ความสำคัญอย่างยิ่งยวดคือการสร้างการรับรู้ด้านสุขภาพให้เกิดขึ้นในชุมชน เพื่อให้ชาวบ้านสามารถเข้าถึงข้อมูลด้านสุขภาพ การบริการสุขภาพขั้นพื้นฐานอย่างถูกต้อง มีความเข้าใจถึงความสำคัญในการดูแลสุขภาพและการเข้ารับการบริการสุขภาพขั้นพื้นฐาน ความรอบรู้ด้านสุขภาพ (Health literacy) เป็นทักษะต่างๆทางการรับรู้และทางสังคมซึ่งเป็นตัวกำหนดแรงจูงใจและความสามารถของปัจเจกบุคคลในการที่จะเข้าถึง เข้าใจและการใช้ข้อมูลในวิธีการต่างๆเพื่อส่งเสริมและบำรุงรักษาสุขภาพของตนเองให้ดีอยู่เสมอ เป็นทักษะที่มีความจำเป็นสำหรับบุคคลในการดูแลสุขภาพของตนเอง เป็นผลลัพธ์ขั้นสูงของกระบวนการทางสุขศึกษาร่วมกับการสร้างสิ่งแวดล้อมที่เอื้อต่อการมีสุขภาพดี การพัฒนาความรอบรู้ด้านสุขภาพให้อยู่ในระดับสูง ช่วยเพิ่มทักษะชีวิต ส่งผลเกื้อหนุนสุขภาพของปัจเจกบุคคลและชุมชน อาจกล่าวได้ว่าการพัฒนาความรอบรู้ด้านสุขภาพเป็นวิธีการหนึ่งในการส่งเสริมสุขภาพ ในปี 2562 ที่ผ่านมาโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านเจ๊ะเก ได้จัดทำโครงการการอบรมเพื่อสร้างความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับเรื่องราวของสุขภาพ และได้มีการจัดทำแบบสอบถามเพื่อประเมินความรู้ ประเมินระดับองค์ความรู้เกี่ยวกับเรื่องการดูแลสุขภาพของชาวบ้าน ในด้านการดำเนินงานต่างๆ อาทิเช่น องค์ความรู้เกี่ยวกับการตั้งครรภ์พบว่ามีระดับความรู้อยู่ในระดับปานกลาง ร้อยละ 67.87 ประเมินระดับความรู้เกี่ยวกับงานสร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรค อยู่ในระดับต่ำ ร้อยละ 45.64 การประเมินระดับความรู้เกี่ยวกับโรคความดันโลหิตสูงและเบาหวานอยู่ในระดับปานกลาง ร้อยละ 67.86 ซึ่งข้อมูลเหล่านี้เป็นข้อมูลขั้นพื้นฐานที่สามารถบ่งบอกในระดับหนึ่งว่าการรับรู้ด้านสุขภาพของชาวบ้านในพื้นที่นั้นเป็นอย่างไร ข้อมูลเหล่านี้ชี้ให้เห็นถึงปัจจัยของปัญหาที่ส่งผลต่อพฤติกรรมการดูแลสุขภาพและการเข้าถึงการรับบริการจากหน่วยงานสาธารณสุข จึงมีความจำเป็นอย่างยิ่งต่อการมุ่งเน้นในการสร้างการรับรู้ด้านสุขภาพ สร้างความรู้ด้านสุขภาพ มีการประเมินความรอบรู้ด้านสุขภาพและสร้างสื่อสุขภาพเพื่อการสื่อสารและประชาสัมพันธ์ให้เกิดการรับรู้และความรู้ด้านสุขภาพสำหรับชาวบ้านในพื้นที่ ดังนั้นโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านเจ๊ะเก ตำบลบาโงสะโต อ.ระแงะ จ.นราธิวาส จึงเล็งเห็นถึงความสำคัญที่จะจัดให้มีโครงการสื่อสุขภาพ สื่อสารความรู้และประชาสัมพันธ์เพื่อสร้างความรอบรู้ด้านสุขภาพ เพื่อให้ประชาชนเกิดการรับรู้และมีความรอบรู้ด้านสุขภาพมากขึ้น

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อให้ประชาชนทั่วไปมีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับการดูแลสุขภาพและพฤติกรรมสุขภาพที่ถูกต้อง
  2. เพื่อให้ประชาชนทั่วไปมีความรอบรู้ด้านสุขภาพ มีการดูแลสุขภาพและมีพฤติกรรมสุขภาพที่ถูกต้อง

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. ค่าจัดพิมพ์วารสารสื่อสารความรอบรู้ด้านสุขภาพ
  2. ค่าจัดพิมพ์โปสเตอร์สื่อสารความรอบรู้ด้านสุขภาพ
  3. ค่าจัดพิมพ์แผ่นพับสื่อสารความรอบรู้ด้านสุขภาพ

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 100
กลุ่มวัยทำงาน 100
กลุ่มผู้สูงอายุ 100
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด 100
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

  1. ประชาชนมีความรู้ความเข้าใจที่ถูกต้อง มีการรับรู้ข้อมูลด้านสุขภาพที่ถูกต้อง มีความรู้เท่าทันข้อมูลด้านสุขภาพในปัจจุบัน มีการดูแลสุขภาพ มีพฤติกรรมสุขภาพที่ถูกต้องและสามารถเข้าถึงระบบบริการสุขภาพขั้นพื้นที่ฐานได้
  2. ประชาชนมีความรอบรู้ความเข้าใจที่ถูกต้อง มีการรับรู้ข้อมูลด้านสุขภาพที่ถูกต้อง มีความรู้เท่าทันข้อมูลด้านสุขภาพในปัจจุบัน มีการดูแลสุขภาพ มีพฤติกรรมสุขภาพที่ถูกต้องและสามารถเข้าถึงระบบบริการสุขภาพขั้นพื้นที่ฐานได้

ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เพื่อให้ประชาชนทั่วไปมีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับการดูแลสุขภาพและพฤติกรรมสุขภาพที่ถูกต้อง
ตัวชี้วัด :
0.00

 

2 เพื่อให้ประชาชนทั่วไปมีความรอบรู้ด้านสุขภาพ มีการดูแลสุขภาพและมีพฤติกรรมสุขภาพที่ถูกต้อง
ตัวชี้วัด :
0.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 400
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 100
กลุ่มวัยทำงาน 100
กลุ่มผู้สูงอายุ 100
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด 100
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อให้ประชาชนทั่วไปมีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับการดูแลสุขภาพและพฤติกรรมสุขภาพที่ถูกต้อง (2) เพื่อให้ประชาชนทั่วไปมีความรอบรู้ด้านสุขภาพ มีการดูแลสุขภาพและมีพฤติกรรมสุขภาพที่ถูกต้อง

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) ค่าจัดพิมพ์วารสารสื่อสารความรอบรู้ด้านสุขภาพ (2) ค่าจัดพิมพ์โปสเตอร์สื่อสารความรอบรู้ด้านสุขภาพ (3) ค่าจัดพิมพ์แผ่นพับสื่อสารความรอบรู้ด้านสุขภาพ

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการสื่อสุขภาพ สื่อสารความรู้และประชาสัมพันธ์เพื่อสร้างความรอบรู้ด้านสุขภาพ จังหวัด นราธิวาส

รหัสโครงการ 63-L48423-01-01

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นางวนิดา สนิ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด