กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

directions_run

โครงการคัดกรองความเสี่ยงปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ โรคความดันโลหิตสูงและโรคเบาหวาน ตำบลยาบี อำเภอหนองจิก จังหวัดปัตตานี ปี 2563

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ยาบี


“ โครงการคัดกรองความเสี่ยงปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ โรคความดันโลหิตสูงและโรคเบาหวาน ตำบลยาบี อำเภอหนองจิก จังหวัดปัตตานี ปี 2563 ”

ตำบลยาบี อำเภอหนองจิก จังหวัดปัตตานี

หัวหน้าโครงการ
นางสาวเเมรี เเวฮามะ

ชื่อโครงการ โครงการคัดกรองความเสี่ยงปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ โรคความดันโลหิตสูงและโรคเบาหวาน ตำบลยาบี อำเภอหนองจิก จังหวัดปัตตานี ปี 2563

ที่อยู่ ตำบลยาบี อำเภอหนองจิก จังหวัดปัตตานี จังหวัด ปัตตานี

รหัสโครงการ 63-L3070-1-3 เลขที่ข้อตกลง 7/63

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 23 กรกฎาคม 2563 ถึง 30 กันยายน 2563


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการคัดกรองความเสี่ยงปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ โรคความดันโลหิตสูงและโรคเบาหวาน ตำบลยาบี อำเภอหนองจิก จังหวัดปัตตานี ปี 2563 จังหวัดปัตตานี" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลยาบี อำเภอหนองจิก จังหวัดปัตตานี

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ยาบี ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการคัดกรองความเสี่ยงปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ โรคความดันโลหิตสูงและโรคเบาหวาน ตำบลยาบี อำเภอหนองจิก จังหวัดปัตตานี ปี 2563



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการคัดกรองความเสี่ยงปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ โรคความดันโลหิตสูงและโรคเบาหวาน ตำบลยาบี อำเภอหนองจิก จังหวัดปัตตานี ปี 2563 " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลยาบี อำเภอหนองจิก จังหวัดปัตตานี รหัสโครงการ 63-L3070-1-3 ระยะเวลาการดำเนินงาน 23 กรกฎาคม 2563 - 30 กันยายน 2563 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 25,500.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ยาบี เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

ประเทศไทยโรคเบาหวาน โรคความดันโลหิตสูง เป็นโรคเรื้อรัง ซึ่งถือว่าเป็นภัยเงียบที่ไม่แสดงอาการแต่ตรวจพบได้ เป็นโรคที่เกิดขึ้นจากพันธุกรรม พฤติกรรมการรับประทานอาหาร การปฏิบัติตนไม่เหมาะสม เช่น ไม่ออกกำลังกาย
สูบบุหรี่ ดื่มกาแฟ เป็นต้น พบจำนวนผู้ป่วยเพิ่มขึ้นได้ในทุกชุมชน โดยเฉพาะโรคเบาหวาน โรคความดันโลหิตสูง เป็นปัญหาสุขภาพที่สำคัญในชุมชน จากสถานการณ์ข้อมูลผู้ป่วยด้วยโรคเรื้อรัง พบความชุกเบาหวานในประชากรอายุ 15 ปีขึ้นไป ร้อยละ 6.9 และประชากรอายุ 35 ปีขึ้นไป ร้อยละ 9.6 และความชุกของโรคความดันโลหิตสูงในประชากร 35 ปีขึ้นไป ร้อยละ 21.4 ทั้งยังเป็นสาเหตุที่ทำให้ประเทศไทยเสียค่าใช้จ่ายอย่างมหาศาลในการดูแลรักษาและมักเกิดภาวะแทรกซ้อนที่ตามมาอันได้แก่ โรคหัวใจ ไตวาย ตาบอด หลอดเลือดหัวใจตามมา (แพทย์หญิงสุพัตราและคณะ,2553)

จากสถานการณ์ข้อมูลการคัดกรองโรคความดันโลหิตสูงในประชากรกลุ่มเสี่ยงอายุ 35 ปีขึ้นไปในจังหวัดปัตตานี ตั้งแต่ปีงบประมาณ 2561-2563 พบว่า อัตราการคัดกรองโรคความดันโลหิตสูง ร้อยละ 94.82 ,93.45 และ 94.82 ตามลำดับ อยู่ในกลุ่มปกติ ร้อยละ 73.61 , 73.44 และ 88.10 ตามลำดับ อยู่ในกลุ่มเสี่ยง ร้อยละ 20.99 , 21.15 และ 6.63 ตามลำดับ อยู่ในกลุ่มสงสัยป่วย ร้อยละ 5.10 ,4.92 และ 4.73 ตามลำดับ จากสถานการณ์ข้อมูลการคัดกรองโรคความดันโลหิตสูงในประชากรกลุ่มเสี่ยงอายุ 35 ปีขึ้นไปในอำเภอหนองจิก ตั้งแต่ปีงบประมาณ 2561-2563 พบว่า อัตราการคัดกรองโรคความดันโลหิตสูง ร้อยละ 96.55 ,93.73 และ 95.53 ตามลำดับ อยู่ในกลุ่มปกติ ร้อยละ 68.74 , 68.95 และ 88.22 ตามลำดับ อยู่ในกลุ่มเสี่ยง ร้อยละ 25.10 , 24.56 และ 6.31 ตามลำดับ อยู่ในกลุ่มสงสัยป่วย ร้อยละ 5.98 ,6.19 และ 4.62 ตามลำดับ จากสถานการณ์ข้อมูลการคัดกรองโรคความดันโลหิตสูงในประชากรกลุ่มเสี่ยงอายุ 35 ปีขึ้นไปในพื้นที่ตำบลยาบี ตั้งแต่ปีงบประมาณ 2561-2563 พบว่า อัตราการคัดกรองโรคความดันโลหิตสูง ร้อยละ 98.49 ,97.01 และ 97.83 ตามลำดับ อยู่ในกลุ่มปกติ ร้อยละ 58.99 , 60.67 และ 81.48 ตามลำดับ อยู่ในกลุ่มเสี่ยง ร้อยละ 30.59 , 24.56 และ9.88 ตามลำดับ อยู่ในกลุ่มสงสัยป่วย ร้อยละ 8.23 ,6.19 และ 8.15 ตามลำดับ
จากสถานการณ์ข้อมูลการคัดกรองโรคเบาหวานในประชากรกลุ่มเสี่ยงอายุ 35 ปีขึ้นไปในจังหวัดปัตตานี ตั้งแต่ปีงบประมาณ 2561-2563 พบว่า อัตราการคัดกรองโรคเบาหวาน ร้อยละ 94.10 ,92.98 และ 94.21 ตามลำดับ อยู่ในกลุ่มปกติ ร้อยละ 86.63 , 86.30 และ 85.55 ตามลำดับ อยู่ในกลุ่มเสี่ยง ร้อยละ 11.96 , 12.36 และ 13.34 ตามลำดับ อยู่ในกลุ่มสงสัยป่วย ร้อยละ 1.15 ,1.17 และ 0.95 ตามลำดับ จากสถานการณ์ข้อมูลการคัดกรองโรคเบาหวานในประชากรกลุ่มเสี่ยงอายุ 35 ปีขึ้นไปในอำเภอหนองจิก ตั้งแต่ปีงบประมาณ 2561-2563 พบว่า อัตราการคัดกรองโรคเบาหวาน ร้อยละ 95.79 ,92.44 และ 93.73 ตามลำดับ อยู่ในกลุ่มปกติ ร้อยละ 85.71 ,82.17 และ 83.86 ตามลำดับ อยู่ในกลุ่มเสี่ยง ร้อยละ 12.54 , 15.75 และ 15.05 ตามลำดับ อยู่ในกลุ่มสงสัยป่วย ร้อยละ 1.55 ,1.86 และ 0.89 ตามลำดับ จากสถานการณ์ข้อมูลการคัดกรองโรคเบาหวานในประชากรกลุ่มเสี่ยงอายุ 35 ปีขึ้นไปในพื้นที่ตำบลยาบี ตั้งแต่ปีงบประมาณ 2561-2563 พบว่า อัตราการคัดกรองโรคเบาหวาน ร้อยละ 98.46 ,94.53 และ 95.74 ตามลำดับ อยู่ในกลุ่มปกติ ร้อยละ 85.05 , 81.59 และ 86.87 ตามลำดับ อยู่ในกลุ่มเสี่ยง ร้อยละ 13.62 , 17.12 และ 12.37 ตามลำดับ อยู่ในกลุ่มสงสัยป่วย ร้อยละ 1.17 ,1.29 และ 0.61 ตามลำดับ (แหล่งข้อมูลจากโปรแกรม HDC จังหวัดปัตตานี)

จากการวิเคราะห์ข้อมูลคัดกรองโรคความดันโลหิตสูงและโรคเบาหวาน ของพื้นที่ตำบลยาบี แนวโน้มการคัดกรองผ่านเกณฑ์ตามมาตรฐานที่กระทรวงสาธารณสุขวางไว้ (ร้อยละ 90) แต่ผลการคัดกรองที่อยู่ในกลุ่มปกติมีแนวโน้มดีขึ้น กลุ่มเสี่ยงมีแนวโน้มลดน้อยลงแต่ยังไม่ผ่านเกณฑ์ กลุ่มสงสัยป่วยมีแนวโน้มเพิ่มขึ้นเสี่ยงต่อการทำให้เกิดผู้ป่วยรายใหม่ได้ จากทะเบียนผู้ป่วยโรคเรื้อรังในชุมชนของโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลยาบี ปี 2560 พบว่าผู้ป่วยโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูงมีแนวโน้มเพิ่มขึ้น จากการคัดกรองความเสี่ยงประชากร 35 ปี ขึ้นไป ร้อยละ 92.14 (พบกลุ่มเสี่ยงเบาหวาน จำนวน 95 คน ร้อยละ 8.09 สงสัยป่วย 7 คน ร้อยละ 0.60 และมีอัตราป่วยด้วยเบาหวานรายใหม่ จำนวน 8 คน ร้อยละ 0.74 พบกลุ่มเสี่ยงความดันโลหิตสูง 372 คน ร้อยละ 34.48 กลุ่มสงสัยป่วย 115 คน ร้อยละ 10.66 อัตราป่วยด้วยความดันโลหิตสูงรายใหม่จำนวน 31 คน ร้อยละ 2.90
จากทะเบียนผู้ป่วยโรคเรื้อรังในชุมชนของโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลยาบี ปี 2561 พบว่าผู้ป่วยโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูงมีแนวโน้มเพิ่มขึ้น จากการคัดกรองความเสี่ยงประชากร 35 ปี ขึ้นไป ร้อยละ 98.40 (พบกลุ่มเสี่ยงเบาหวาน จำนวน 174 คน ร้อยละ 13.62 สงสัยป่วย 15 คน ร้อยละ 1.17 และมีอัตราป่วยด้วยเบาหวานรายใหม่ จำนวน 6 คน ร้อยละ 0.55 พบกลุ่มเสี่ยงความดันโลหิตสูง 379 คน ร้อยละ 32.31 กลุ่มสงสัยป่วย 98 คน ร้อยละ 8.35 อัตราป่วยด้วยความดันโลหิตสูงรายใหม่จำนวน 16 คน ร้อยละ 1.36
จากทะเบียนผู้ป่วยโรคเรื้อรังในชุมชนของโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลยาบี ปี 2562 พบว่าผู้ป่วยโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูงมีแนวโน้มเพิ่มขึ้น จากการคัดกรองความเสี่ยงประชากร 35 ปี ขึ้นไป ร้อยละ 97.01 (พบกลุ่มเสี่ยงเบาหวาน จำนวน 213 คน ร้อยละ 17.12 สงสัยป่วย 16 คน ร้อยละ 1.29 และมีอัตราป่วยด้วยโรคเบาหวานรายใหม่ จำนวน 9 คน ร้อยละ 0.72 พบกลุ่มเสี่ยงโรคความดันโลหิตสูง 357 คน ร้อยละ 30.59 กลุ่มสงสัยป่วย 96 คน ร้อยละ 8.23 อัตราป่วยด้วยความดันโลหิตสูงรายใหม่จำนวน 23 คน ร้อยละ 1.98 ซึ่งสาเหตุเกิดจากพฤติกรรมการบริโภคอาหารหวาน มัน เค็ม พฤติกรรมไม่ออกกำลังกาย และอารมณ์เครียดจากปัญหาของครอบครัวและเศรษฐกิจในสังคม จากปัญหาการเพิ่มขึ้นอย่างต่อเนื่องของกลุ่มเสี่ยงโรคความดันโลหิตสูงและโรคเบาหวานตั้งแต่ปี 2560-2562 นั้น โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลยาบี จึงได้เห็นถึงความสำคัญในการดูแลเฝ้าระวังความเสี่ยงด้านสุขภาพในการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมที่เหมาะสมและสามารถลดโรค ลดเสี่ยง โรคเรื้อรังเบาหวาน ความดันโลหิตสูง จึงได้จัดทำ โครงการคัดกรองความเสี่ยงปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพโรคความดันโลหิตสูงและโรคเบาหวาน ตำบลยาบี อำเภอหนองจิก จังหวัดปัตตานี ปี 2563 ขึ้น โดยเน้นในกลุ่มที่เสี่ยงสูงต่อโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูงเพื่อให้ประชาชนได้รับความรู้ สามารถปรับเปลี่ยนพฤติกรรมอยู่ในกลุ่มปกติได้ เพื่อลดการเกิดโรคเรื้อรังได้ในอนาคตได้

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. 1.เพื่อเฝ้าระวังเเละค้นหาผู้ป่วยรายใหม่
  2. 2.เพื่อให้กลุ่มเสี่ยงที่เข้าร่วมโครงการ อยู่ในกลุ่มปกติ โดยยึดหลัก 3อ. 2ส.

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. กิจกรรมให้ความรู้เรื่องการดูเเล การให้คำเเนะนำเเนวทางการปฏิบัติตัวของกลุ่มเสี่ยงต่อโรคความดันโลหิตสูงเเละเสี่ยงต่อโรคเบาหวาน
  2. กิจกรรมเเลกเปลี่ยนเรียนรู้กลุ่มเสี่ยงต่อโรคความดันโลหิตสูงเเละเสี่ยงต่อโรคเบาหวาน
  3. กิจกรรมติดตามเยี่ยมบ้าน เพื่อประเมินระดับน้ำตาลในเลือดเเละระดับความดันโลหิตสูง โดย อสม.ติดตามจำนวน 3 ครั้ง
  4. สรุปผลการดำเนินโครงการ

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 76
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

  1. ผู้ป่วยรายใหม่โรคความดันโลหิตสูงและโรคเบาหวานลดลงจากเดิมในปี 2562

  2. จำนวนกลุ่มเสี่ยงที่เข้าร่วมโครงการ สามารถอยู่ในกลุ่มปกติ โดยยึดหลัก 3อ. 2ส.


ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

1. กิจกรรมให้ความรู้เรื่องการดูเเล การให้คำเเนะนำเเนวทางการปฏิบัติตัวของกลุ่มเสี่ยงต่อโรคความดันโลหิตสูงเเละเสี่ยงต่อโรคเบาหวาน

วันที่ 13 สิงหาคม 2563

กิจกรรมที่ทำ

กิจกรรมที่ 1 ประชุมชี้เเจงรายละเอียดการดำเนินงานโครงการ เเละให้ความรู้เรื่องการดูเเล การให้คำเเนะนำเเนวทางการปฏิบัติตัวของกลุ่มเสี่ยงต่อโรคความดันโลหิตสูงเเละเสี่ยงต่อโรคเบาหวานที่เข้าร่วมโครงการ โดยยึดหลัก 3อ.2ส.เเละอธิบายเเนวทางในการติดตามคัดกรองเเละเฝ้าระวังต่อที่บ้านให้กับ อสม.

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

1.ผู้ป่วยรายใหม่โรคความดันโลหิตสูงเเละโรคเบาหวานลดลงจากเดิมในปี 2562 2.จำนวนกลุ่มเสี่ยงที่เข้าร่วมโครงการ สามารถอยู่ในกลุ่มปกติ โดยยึดหลัก 3อ. 2ส.

 

40 0

2. กิจกรรมเเลกเปลี่ยนเรียนรู้กลุ่มเสี่ยงต่อโรคความดันโลหิตสูงเเละเสี่ยงต่อโรคเบาหวาน

วันที่ 19 สิงหาคม 2563

กิจกรรมที่ทำ

กิจกรรมเเลกเปลี่ยนเรียนรู้กลุ่มเสี่ยงต่อโรคความดันโลหิตสูงเเละเสี่ยงต่อโรคเบาหวาน จำนวน 76 คน

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

1.ผู้ป่วยรายใหม่โรคความดันโลหิตสูงเเละโรคเบาหวานลดลงจากเดิมในปี 2562 2.จำนวนกลุ่มเสี่ยงที่เข้าร่วมโครงการ สามารถอยู่ในกลุ่มปกติ โดยยึดหลัก 3อ. 2ส.

 

76 0

3. กิจกรรมติดตามเยี่ยมบ้าน เพื่อประเมินระดับน้ำตาลในเลือดเเละระดับความดันโลหิตสูง โดย อสม.ติดตามจำนวน 3 ครั้ง

วันที่ 28 สิงหาคม 2563

กิจกรรมที่ทำ

กิจกรรมติดตามเยี่ยมบ้าน เพื่อประเมินระดับน้ำตาลในเลือดเเละระดับความดันโลหิตสูง โดยอสม.ติดตามจำนวน 3 ครั้ง พร้อมอุปกรณ์สำหรับกลุ่มเสี่ยงที่ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจากกลุ่มเสี่ยงเป็นกลุ่มปกติ โดยการติดตามพฤติกรรมการบริโภคอาหาร การออกกำลังกาย อารมณ์ ของกลุ่มเสี่ยงโรคความดันโลหิตสูงเเละโรคเบาหวาน ติดตามโดย อสม. จำนวน 3 ครั้ง

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

1.ผู้ป่วยรายใหม่โรคความดันโลหิตสูงเเละโรคเบาหวานลดลงจากเดิมในปี 2562 2.จำนวนกลุ่มเสี่ยงที่เข้าร่วมโครงการ สามารถอยู่ในกลุ่มปกติ โดยยึดหลัก 3อ. 2ส.

 

76 0

4. สรุปผลการดำเนินโครงการ

วันที่ 25 กันยายน 2563

กิจกรรมที่ทำ

รายงานผลการดำเนินงานต่อที่ประชุมประจำเดือน สรุปผลการดำเนินงานเเละวางเเผนการพัฒนาต่อไป

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

1.ผู้ป่วยรายใหม่โรคความดันโลหิตสูงเเละโรคเบาหวานลดลงร้อยละ 5 2.จำนวนกลุ่มเสี่ยงที่เข้าร่วมโครงการ สามารถอยู่ในกลุ่มปกติ โดยยึดหลัก 3อ. 2ส. ร้อยละ 50

 

0 0

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

กลุ่มเสี่ยงบางคนยังมีพฤติกรรมเหมือนเดิมคือ ยังกินของหวาน เพราะถ้าไม่กินของหวานจะไม่ค่อยมีเเรง เเละกลุ่มเสี่ยงบางคนที่เป็นผู้ชาย กับข้าวส่วนใหญ่รับประทานตามที่ภรรยาทำไว้ให้รับประทาน เเละช่วงที่ติดตามการปรับเปลี่ยนอยู่ในช่วงมีงานบุญ ในชุมชนจัดกินเลี้ยงส่วนใหญ่เป็นเเกงกะทิ

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 1.เพื่อเฝ้าระวังเเละค้นหาผู้ป่วยรายใหม่
ตัวชี้วัด : 1. ผู้ป่วยรายใหม่โรคความดันโลหิตสูงเเละโรคเบาหวานลดลงร้อยละ 5
100.00 0.00

 

2 2.เพื่อให้กลุ่มเสี่ยงที่เข้าร่วมโครงการ อยู่ในกลุ่มปกติ โดยยึดหลัก 3อ. 2ส.
ตัวชี้วัด : จำนวนกลุ่มเสี่ยงที่เข้าร่วมโครงการ สามารถอยู่ในกลุ่มปกติ โดยยึดหลัก 3อ. 2ส. ร้อยละ 50
100.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 76
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 76
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) 1.เพื่อเฝ้าระวังเเละค้นหาผู้ป่วยรายใหม่ (2) 2.เพื่อให้กลุ่มเสี่ยงที่เข้าร่วมโครงการ อยู่ในกลุ่มปกติ โดยยึดหลัก 3อ. 2ส.

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) กิจกรรมให้ความรู้เรื่องการดูเเล การให้คำเเนะนำเเนวทางการปฏิบัติตัวของกลุ่มเสี่ยงต่อโรคความดันโลหิตสูงเเละเสี่ยงต่อโรคเบาหวาน (2) กิจกรรมเเลกเปลี่ยนเรียนรู้กลุ่มเสี่ยงต่อโรคความดันโลหิตสูงเเละเสี่ยงต่อโรคเบาหวาน (3) กิจกรรมติดตามเยี่ยมบ้าน เพื่อประเมินระดับน้ำตาลในเลือดเเละระดับความดันโลหิตสูง โดย อสม.ติดตามจำนวน 3 ครั้ง (4) สรุปผลการดำเนินโครงการ

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


ส่วนที่ 3 ประเมินคุณค่าโครงการ

แบบประเมินคุณค่าของโครงการที่เกี่ยวข้องกับการสร้างเสริมสุขภาพ

ชื่อโครงการ โครงการคัดกรองความเสี่ยงปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ โรคความดันโลหิตสูงและโรคเบาหวาน ตำบลยาบี อำเภอหนองจิก จังหวัดปัตตานี ปี 2563

รหัสโครงการ 63-L3070-1-3 รหัสสัญญา 7/63 ระยะเวลาโครงการ 23 กรกฎาคม 2563 - 30 กันยายน 2563

แบบประเมินคุณค่าของโครงการที่เกี่ยวข้องกับการสร้างเสริมสุขภาพ เป็นการคุณค่าที่เกิดจากโครงการในมิติต่อไปนี้

  • ความรู้ด้านการสร้างเสริมสุขภาพและนวัตกรรมเชิงระบบสุขภาพชุมชน
  • การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมที่มีผลต่อสุขภาวะ
  • การปรับเปลี่ยนสิ่งแวดล้อมที่เอื้อต่อสุขภาวะ
  • ผลกระทบเชิงบวกและนโยบายสาธารณะที่เอื้อต่อการสร้างสุขภาวะชุมชน
  • กระบวนการชุมชน
  • มิติสุขภาวะปัญญา / สุขภาวะทางจิตวิญญาณ

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่

1. เกิดความรู้ หรือ นวัตกรรมชุมชน

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. ความรู้ใหม่ / องค์ความรู้ใหม่

-กลุ่มเป้าหมายมีความรู้เกี่ยวกับการดูเเลสุขภาพของตนเองในการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมตามหลัก 3อ. 2ส.ทำให้มีผู้ป่วยรายใหม่ลดลงจากเดิม

ใบลงทะเบียนผู้เข้าร่วมโครงการ

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. สิ่งประดิษฐ์ / ผลผลิตใหม่

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. กระบวนการใหม่

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. วิธีการทำงาน / การจัดการใหม่

กิจกรรมที่ 1ประชุมชี้เเจงรายละเอียดการดำเนินงานโครงการ เเละให้ความรู้เรื่องการดูเเล การให้คำเเนะนำเเนวทางการปฏิบัติตัวของกลุ่มเสี่ยงต่อโรคความดันโลหิตสูงเเละเสี่ยงต่อโรคเบาหวานที่เข้าร่วมโครงการ โดยยึดหลัก 3อ. 2ส.เเละอธิบายเเนวทางในการติดตามคัดกรองเเละเฝ้าระวังต่อที่บ้านให้กับ อสม. กิจกรรมที่ 2 เเลกเปลี่ยนเรียนรู้กลุ่มเสี่ยงต่อโรคความดันโลหิตสูงเเละเสี่ยงต่อโรคเบาหวาน กิจกรรมที่ 3 ติดตามเยี่ยมบ้าน เพื่อประเมินระดับน้ำตาลในเลือดเเละระดับความดันโลหิตสูง โดย อสม.ติดตามจำนวน 3 ครั้ง พร้อมอุปกรณ์สำหรับกลุ่มเสี่ยงที่ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจากกลุ่มเสี่ยงเป็นกลุ่มปกติ

จำนวนกลุ่มเสี่ยงที่เข้าร่วมโครงการในชุมชนตำบลยาบี

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
5. การเกิดกลุ่ม / โครงสร้างในชุมชนใหม่

จำนวนกลุ่มเสี่ยงที่เข้าร่วมโครงการ สามารถอยู่ในกลุ่มปกติ โดยยึดหลัก 3อ. 2ส.

กลุ่มเสี่ยงในชุมชนตำบลยาบี

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
6. แหล่งเรียนรู้ใหม่

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
99. อื่นๆ

 

 

 

2. เกิดการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมที่เอื้อต่อสุขภาพ

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. การดูแลสุขอนามัยส่วนบุคคล

ติดตามเยี่ยมบ้านเพื่อประเมินระดับน้ำตาลในเลือดเเละระดับความดันโลหิตสูงของเเต่ละบุคคล

กลุ่มอสม.ในชุมชนตำบลยาบี

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. การบริโภค

ชุมชนได้ทราบประโยชน์ของพืชผักที่ตนเองบริโภคทุกวัน

ชุมชนมีการปลูกผักสวนครัวกินเอง

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. การออกกำลังกาย

ชุมชนเริ่มหันมาสนใจสุขภาพมากขึ้นหันมาออกกำลังกายมากขึ้น

ในชุมชนตำบลยาบี

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. การลด ละ เลิก อบายมุข เช่น การพนัน เหล้า บุหรี่

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
5. การลดพฤติกรรมเสี่ยง เช่น พฤติกรรมเสี่ยงทางเพศ การขับรถโดยประมาท

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
6. การจัดการอารมณ์ / ความเครียด

มีการจัดกิจกรรมสันทนาการให้กับกลุ่มเสี่ยงที่เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายในชุมชนตำบลยาบี

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
7. การดำรงชีวิต / วิถีชีวิต เช่น การใช้ภูมิปัญญาท้องถิ่น / สมุนไพรในการดูแลสุขภาพตนเอง

การใช้สมุนไพรในชุมชนในการรักษาโรคความดันโลหิตสูงเเละโรคเบาหวาน

ในชุมชนตำบลยาบี

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
8. พฤติกรรมการจัดการตนเอง ครอบครัว ชุมชน

ในชุมชนมีการปรับเปลี่ยนค่านิยมโดยการใช้หลักการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม 3อ. 2ส.

จากครัวเรือนที่มีกลุ่มเสี่ยงในชุมชนตำบลยาบี

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
9. อื่นๆ

 

 

 

3. การสร้างสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อสุขภาพ (กายภาพ สังคม และเศรษฐกิจ)

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. กายภาพ เช่น มีการจัดการขยะ ป่า น้ำ การใช้สารเคมีเกษตร และการสร้างสิ่งแวดล้อมในครัวเรือนที่ถูกสุขลักษณะ

ส่งเสริมให้ชุมชนมีการปลูกพืชผักสวนครัวเพิ่มมากขึ้น มีการใช้ปุ๋ยอินทรีย์ชีวภาพในการปลูกผักกินเอง

จากครอบครัวในชุมชน

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. สังคม เช่น มีความปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สิน ลดการเกิดอุบัติเหตุ ครอบครัวอบอุ่น การจัดสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อเด็ก เยาวชน และกลุ่มวัยต่าง ๆ มีพื้นที่สาธารณะ/พื้นที่ทางสังคม เพื่อเอื้อต่อการส่งเสริมสุขภาพของคนในชุมชน มีการใช้ศาสนา/วัฒนธรรมเป็นฐานการพัฒนา

กลุ่มเป้าหมายที่มาร่วมในโครงการมีความสนใจในการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม 3อ. 2ส. ร่วมกับเจ้าหน้าที่ อสม. เกิดเป็นกลุ่มที่อบอุ่น

กิจกรรมที่มีในชุมชนตำบลยาบี

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. เศรษฐกิจสร้างสรรค์สังคม /สร้างอาชีพ / เพิ่มรายได้

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. มีการบริการสุขภาพทางเลือก และมีช่องทางการเข้าถึงระบบบริการสุขภาพ

ติดตามเยี่ยมบ้าน เพื่อประเมินระดับน้ำตาลในเลือดเเละระดับความดันโลหิตสูง โดย อสม.ติดตามจำนวน 3 ครั้ง พร้อมอุปกรณ์สำหรับกลุ่มเสี่ยงที่ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจากกลุ่มเสี่ยงเป็นกลุ่มปกติ

ทะเบียนเยี่ยมบ้านกลุ่มเสี่ยงเพื่อประเมินระดับน้ำตาลในเลือดเเละระดับความดันโลหิตสูง

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
5. อื่นๆ

 

 

 

4. การพัฒนานโยบายสาธารณะที่เอื้อต่อสุขภาวะ

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. มีกฎ / กติกา ของกลุ่ม ชุมชน

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. มีมาตรการทางสังคมของกลุ่ม ชุมชน

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. มีธรรมนูญของชุมชน

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. อื่นๆ เช่น ออกเป็นข้อบัญญัติท้องถิ่น ฯลฯ

 

 

 

5. เกิดกระบวนการชุมชน

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. เกิดการเชื่อมโยงประสานงานระหว่างกลุ่ม / เครือข่าย (ใน และหรือนอกชุมชน)

มีการทำงานเชื่อมโยงกับสภาองค์กรระดับตำบล

โครงสร้างการทำงานระดับตำบล

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. การเรียนรู้การแก้ปัญหาชุมชน (การประเมินปัญหา การวางแผน การปฏิบัติการ และการประเมิน)

มีการจัดกิจกรรมเเลกเปลี่ยนเรียนรู้เเก่กลุ่มเสี่ยงที่มีอายุ 35 ปีขึ้นไป จำนวน 76 คน บรรยายเกี่ยวกับการดูเเลสุขภาพของตนเองในการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม 3อ. 2ส. ทำอย่างไรให้ห่างไกลจากโรค สามารถอยู่ในกลุ่มปกติได้

เวทีในชุมชนตำบลยาบี

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. การใช้ประโยชน์จากทุนในชุมชน เช่น การระดมทุน การใช้ทรัพยากรบุคคลในชุมชน

มีการให้วิทยากรที่มีความรู้เกี่ยวกับการคัดกรองความเสี่ยงปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ โรคความดันโลหิตสูงเเละโรคเบาหวานมาให้ความรู้ที่โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล

โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลยาบี

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. มีการขับเคลื่อนการดำเนินงานของกลุ่มและชุมชนที่เกิดจากโครงการอย่างต่อเนื่อง

มีการรณรงค์ให้ชุมชนเปลี่ยนค่านิยมโดยการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมตามหลัก 3อ. 2ส.

ในชุมชนตำบลยาบี

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
5. เกิดกระบวนการจัดการความรู้ในชุมชน

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
6. เกิดทักษะในการจัดการโครงการ เช่น การใช้ข้อมูลในการตัดสินใจ การทำแผนปฏิบัติการ

คณะทำงานมีการทำงานเเบบมีระเบียบมากขึ้นมีการ เตรียมงานก่อนปฏิบัติจริง

การทำงานในชุมชน

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
7. อื่นๆ

 

 

 

6. มิติสุขภาวะปัญญา / สุขภาวะทางจิตวิญญาณ

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. ความรู้สึกภาคภูมิใจในตัวเอง / กลุ่ม / ชุมชน

-ผู้ป่วยรายใหม่โรคความดันโลหิตสูงเเละโรคเบาหวานลดลงร้อยละ5 -จำนวนกลุ่มเสี่ยงที่เข้าร่วมโครงการ สามารถอยู่ในกลุ่มปกติ โดยยึดหลัก 3อ. 2ส. ร้อยละ 50

กลุ่มเสี่ยงที่เข้าร่วมโครงการ

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. การเห็นประโยชน์ส่วนรวมและส่วนตนอย่างสมดุล

คนรุ่นใหม่เเละเยาวชนมีจิตอาสามากขึ้น

มีคนร่วมในงานสาธาธารณะในชุมชนมากขึ้น

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. การใช้ชีวิตอย่างเรียบง่าย และพอเพียง

มีการปลูกผักกินภายในครัวเรือน โดยการใช้ปุ๋ยอินทรีย์แทนปุ๋ยเคมี

ทุกครัวเรือนในชุมชนตำบลยาบี

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. ชุมชนมีความเอื้ออาทร

เป็นวิถีชีวิตในชุมชนดั้งเดิม

วิถีชีวิตในชุมชน

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
5. มีการตัดสินใจโดยใช้ฐานปัญญา

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
6. อื่นๆ

 

 

 

โครงการคัดกรองความเสี่ยงปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ โรคความดันโลหิตสูงและโรคเบาหวาน ตำบลยาบี อำเภอหนองจิก จังหวัดปัตตานี ปี 2563 จังหวัด ปัตตานี

รหัสโครงการ 63-L3070-1-3

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นางสาวเเมรี เเวฮามะ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด