กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพเทศบาลตำบลบ้านนา


“ โครงการส่งเสริมสุขภาพและลดปัจจัยเสี่ยงที่ทำให้เกิดโรคจากการประกอบอาชีพเกษตรกรรม ”

ตำบลบ้านนา อำเภอจะนะ จังหวัดสงขลา

หัวหน้าโครงการ
นายเปารี ด่าโอะ

ชื่อโครงการ โครงการส่งเสริมสุขภาพและลดปัจจัยเสี่ยงที่ทำให้เกิดโรคจากการประกอบอาชีพเกษตรกรรม

ที่อยู่ ตำบลบ้านนา อำเภอจะนะ จังหวัดสงขลา จังหวัด สงขลา

รหัสโครงการ เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 20 มีนาคม 2563 ถึง 30 กันยายน 2563


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการส่งเสริมสุขภาพและลดปัจจัยเสี่ยงที่ทำให้เกิดโรคจากการประกอบอาชีพเกษตรกรรม จังหวัดสงขลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลบ้านนา อำเภอจะนะ จังหวัดสงขลา

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพเทศบาลตำบลบ้านนา ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการส่งเสริมสุขภาพและลดปัจจัยเสี่ยงที่ทำให้เกิดโรคจากการประกอบอาชีพเกษตรกรรม



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการส่งเสริมสุขภาพและลดปัจจัยเสี่ยงที่ทำให้เกิดโรคจากการประกอบอาชีพเกษตรกรรม " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลบ้านนา อำเภอจะนะ จังหวัดสงขลา รหัสโครงการ ระยะเวลาการดำเนินงาน 20 มีนาคม 2563 - 30 กันยายน 2563 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 22,160.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพเทศบาลตำบลบ้านนา เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

ปัจจุบันแรงงานนอกระบบมีจำนวนเพิ่มมากขึ้น ทั้งนี้เนื่องจากแรงงานนอกระบบคือผู้ที่ใช้แรงงานโดยไม่มีสัญญาการจ้างงานจากนายจ้าง ไม่ได้ทำงานอยู่ในสถานที่ประกอบการของนายจ้างไม่มีค่าจ้างหรือค่าตอบแทนที่แน่นอน เช่นผู้ประกอบอาชีพเกษตรกรรม เลี้ยงสัตว์ ทำสวน ทำไร่ ทำประมงพื้นบ้าน กรีดยาง เป็นต้น เกษตรกรชาวสวนยางพาราก็นับว่าเป็นกลุ่มแรงงานนอกระบบกลุ่มหนึ่งซึ่งนับว่าเป็นอาชีพที่มีความสำคัญที่สร้างรายได้ให้กับคนในท้องถิ่น เกษตรกรชาวสวนยางพาราถือว่าเป็นกลุ่มแรงงานนอกระบบที่ไม่ได้รับความคุ้มครองและไม่มีหลักประกันทางด้านสุขภาพเมื่อเจ็บป่วยหรือบาดเจ็บ และในขณะเดียวกันพบว่าเกษตรกรชาวสวนยางพาราต้องเผชิญอันตรายจากการประกอบอาชีพการทำสวนยางพาราทั้งจากสภาพแวดล้อมในการทำงาน และการทำงานที่ไม่ปลอดภัยในขั้นตอนต่างๆ ของการผลิตยางพาราตั้งแต่การกรีดยาง การเก็บน้ำยาง การขนน้ำยาง การทำยางแผ่นเป็นต้น เกษตรกรชาวสวนยางพาราต้องทำงานในช่วงกลางคืนซึ่งเป็นช่วงเวลาที่ร่างกายต้องการการพักผ่อนทำให้ส่งผลเสียต่อสุขภาพเนื่องจากต้องอดหลับอดนอนพักผ่อนไม่เพียงพอ นอกจากนี้เกษตรกรชาวสวนยางพารายังมีความเสี่ยงหรืออันตรายจากการประกอบอาชีพอื่นๆอีก เช่นความเสี่ยงต่อการปวดหลัง กล้ามเนื้ออักเสบ ความเสี่ยงอันตรายจากสัตว์มีพิษต่างๆ รวมทั้งความเสี่ยงอันตรายจากการใช้สารเคมีกำจัดศัตรูพืช     ชมรม อสม.ตำบลบ้านนา ได้เล็งเห็นความสำคัญของปัญหาดังกล่าว ทั้งนี้เนื่องจากในพื้นที่ตำบลบ้านนา มีประชาชนประกอบอาชีพทำสวนยางพาราเป็นจำนวนมาก ซึ่งมีโอกาสที่จะประสบกับปัญหาดังกล่าวข้างต้นจึงได้จัดทำโครงการส่งเสริมสุขภาพและลดปัจจัยเสี่ยงที่ทำให้เกิดโรคจากการประกอบอาชีพเกษตรกรรมเพื่อให้กลุ่มเกษตรกรชาวสวนยางพาราซึ่งเป็นกลุ่มแรงงานนอกระบบได้มีความรู้ความเข้าใจที่ถูกต้องในการป้องกันตนเองจากโรคที่เกิดจากการทำงานมีการปฏิบัติงานที่ถูกต้องตามหลักการอาชีวอนามัยและความปลอดภัยในการทำงาน รวมทั้งให้กลุ่มเกษตรกรชาวสวนยางพาราได้รับการตรวจสุขภาพโดยการตรวจหาสารเคมีกำจัดศัตรูพืชที่ตกค้างในเลือด เพื่อทำการเฝ้าระวังและได้มีการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมเสี่ยงและให้ความรู้ด้านการยศาสตร์ในการประกอบอาชีพเพื่อเป็นการลดการบาดเจ็บหรือเจ็บป่วยจากการทำงานต่อไป

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. 1.เพื่อให้มีอาสาสมัครแรงงานนอกระบบในพื้นที่เทศบาลตำบลบ้านนา
  2. 2.เพื่อให้กลุ่มเกษตรกรชาวสวนยางพารามีความรู้ความเข้าใจในการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมในการทำงานเพื่อลดการเจ็บป่วยหรือบาดเจ็บจากการทำงาน
  3. 3.เพื่อให้กลุ่มเกษตรกรชาวสวนยางพารามีความปลอดภัยในการประกอบอาชีพ

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. กิจกรรมที่ 1 ประชุมชี้แจงผู้ที่เกี่ยวข้อง
  2. กิจกรรมที่ 2 จัดอบรมเชิงปฏิบัติการอาสาสมัครแรงงานนอกระบบ
  3. กิจกรรมที่ 3 สำรวจกลุ่มเกษตรกรชาวสวนยางพารา
  4. กิจกรรมที่ 4 จัดอบรมเชิงปฏิบัติการกลุ่มเกษตรกรชาวสวนยางพารา
  5. กิจกรรมที่ 5 ติดตาม/ประเมินผล

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

  1. กลุ่มอาสาสมัครแรงงานนอกระบบมีความรู้ความเข้าใจที่ถูกต้องในเรื่องอาชีวอนามัยและความปลอดภัยในการทำงานสามารถนำความรู้ไปถ่ายทอดให้กับเกษตรกรสวนยางพาราต่อไป
  2. กลุ่มเกษตรกรชาวสวนยางพารามีความรู้ความเข้าใจในการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมในการทำงานเพื่อลดการเจ็บป่วยหรือบาดเจ็บจากการทำงาน
  3. กลุ่มเกษตรกรชาวสวนยางพารามีความปลอดภัยในการประกอบอาชีพและมีคุณภาพชีวิตที่ดีขึ้น

ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 1.เพื่อให้มีอาสาสมัครแรงงานนอกระบบในพื้นที่เทศบาลตำบลบ้านนา
ตัวชี้วัด : 1.มีจำนวนอาสาสมัครแรงงานนอกระบบ ในหมู่บ้านไม่น้อยกว่า 15 คน
0.00

 

2 2.เพื่อให้กลุ่มเกษตรกรชาวสวนยางพารามีความรู้ความเข้าใจในการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมในการทำงานเพื่อลดการเจ็บป่วยหรือบาดเจ็บจากการทำงาน
ตัวชี้วัด : 2.ร้อยละของกลุ่มเกษตรชาวสวนยางมีความรู้ความเข้าใจในการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมในการทำงานเพื่อลดการเจ็บป่วยหรือบาดเจ็บจากการทำงานไม่น้อยกว่าร้อยละ80
0.00

 

3 3.เพื่อให้กลุ่มเกษตรกรชาวสวนยางพารามีความปลอดภัยในการประกอบอาชีพ
ตัวชี้วัด : 3.ร้อยละของกลุ่มเกษตรกรสวนยางมีความปลอดภัยในการประกอบอาชีพไม่น้อยกว่าร้อยละ80
0.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 0
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) 1.เพื่อให้มีอาสาสมัครแรงงานนอกระบบในพื้นที่เทศบาลตำบลบ้านนา (2) 2.เพื่อให้กลุ่มเกษตรกรชาวสวนยางพารามีความรู้ความเข้าใจในการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมในการทำงานเพื่อลดการเจ็บป่วยหรือบาดเจ็บจากการทำงาน (3) 3.เพื่อให้กลุ่มเกษตรกรชาวสวนยางพารามีความปลอดภัยในการประกอบอาชีพ

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) กิจกรรมที่ 1 ประชุมชี้แจงผู้ที่เกี่ยวข้อง (2) กิจกรรมที่ 2 จัดอบรมเชิงปฏิบัติการอาสาสมัครแรงงานนอกระบบ (3) กิจกรรมที่ 3 สำรวจกลุ่มเกษตรกรชาวสวนยางพารา (4) กิจกรรมที่ 4 จัดอบรมเชิงปฏิบัติการกลุ่มเกษตรกรชาวสวนยางพารา (5) กิจกรรมที่ 5 ติดตาม/ประเมินผล

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการส่งเสริมสุขภาพและลดปัจจัยเสี่ยงที่ทำให้เกิดโรคจากการประกอบอาชีพเกษตรกรรม จังหวัด สงขลา

รหัสโครงการ

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นายเปารี ด่าโอะ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด