โครงการ ปรับความคิด เปลี่ยนพฤติกรรม ลดเลี่ยง ลดโรค
แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์
รายงานฉบับสมบูรณ์
โครงการ
“ โครงการ ปรับความคิด เปลี่ยนพฤติกรรม ลดเลี่ยง ลดโรค ”
ตำบลท่าสาป อำเภอเมืองยะลา จังหวัดยะลา
หัวหน้าโครงการ
รพ.สต.ท่าสาป
ได้รับการสนับสนุนโดย กองทุนสุขภาพตำบลเทศบาลตำบลท่าสาป
กันยายน 2563
ชื่อโครงการ โครงการ ปรับความคิด เปลี่ยนพฤติกรรม ลดเลี่ยง ลดโรค
ที่อยู่ ตำบลท่าสาป อำเภอเมืองยะลา จังหวัดยะลา จังหวัด ยะลา
รหัสโครงการ 63 - L8412 -1-10 เลขที่ข้อตกลง 10/2563
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 พฤษภาคม 2563 ถึง 30 กันยายน 2563
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการ ปรับความคิด เปลี่ยนพฤติกรรม ลดเลี่ยง ลดโรค จังหวัดยะลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลท่าสาป อำเภอเมืองยะลา จังหวัดยะลา
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบลเทศบาลตำบลท่าสาป ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการ ปรับความคิด เปลี่ยนพฤติกรรม ลดเลี่ยง ลดโรค
บทคัดย่อ
โครงการ " โครงการ ปรับความคิด เปลี่ยนพฤติกรรม ลดเลี่ยง ลดโรค " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลท่าสาป อำเภอเมืองยะลา จังหวัดยะลา รหัสโครงการ 63 - L8412 -1-10 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 พฤษภาคม 2563 - 30 กันยายน 2563 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 29,200.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบลเทศบาลตำบลท่าสาป เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ »
บทคัดย่อ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล »
วัตถุประสงค์โครงการ »
กิจกรรม/การดำเนินงาน »
กลุ่มเป้าหมาย »
ผลลัพธ์ที่ได้ »
การประเมินผล »
ปัญหาและอุปสรรค »
ข้อเสนอแนะ »
เอกสารประกอบอื่นๆ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
จากบริบททางด้านเศรษฐกิจและสังคมที่เปลี่ยนแปลงไปภายใต้กระแสโลกาภิวัฒน์ ระบบทุนนิยม และเทคโนโลยีการสื่อสารไร้พรมแดน ทำให้คนไทยเปลี่ยนวิถีการดำเนินชีวิตเป็นแบบบริโภคนิยมมากขึ้น เกิดผลกระทบต่อสุขภาพทั้งทางร่างกาย จิตใจ อารมณ์ หรือมีพฤติกรรมสุขภาพที่ไม่เหมาะสม และทำลายสุขภาพ ได้แก่ ขาดการออกกำลังกายน้ำหนักตัวเกินสูบบุหรี่ ดื่มเหล้า กินอาหารไม่เหมาะสม เช่น อาหารหวาน มัน เค็ม กินผักน้อยลง ทำให้เกิดปัญหาสุขภาพจากโรคไม่ติดต่อหรือโรควิถีชีวิตที่สามารถป้องกันได้ที่มีแนวโน้มทวีความรุนแรงมากขึ้นซึ่งสถานการณ์ของโรคไม่ติดต่อในปัจจุบัน พบว่า สาเหตุการตายส่วนใหญ่ของคนไทย เกิดจากโรคไม่ติดต่อมากถึงร้อยละ 60 และสาเหตุหลักของโรคไม่ติดต่อ ส่วนใหญ่ร้อยละ90 เกิดจากพฤติกรรม
การลดเสี่ยงลดโรคไม่ติดต่อทำได้ด้วยการปรับเปลี่ยนวิถีชีวิตให้ห่างไกลจากปัจจัยเสี่ยง ได้แก่ 3อ.2ส. (อาหารออกกำลังกาย อารมณ์ สุรา สูบบุหรี่) โดยการดำเนินงานเพื่อควบคุมป้องกันโรคไม่ติดต่อในปัจจุบันพบว่า มีการคัดกรองกลุ่มเสี่ยงเกือบครอบคลุม แต่คัดกรองแล้วไม่มีการจัดการต่อในการปรับพฤติกรรมอย่างต่อเนื่อง ยังเน้นการจ่ายยาในโรงพยาบาลมากกว่าการดูแลผู้ป่วย ให้ความรู้เป็นชุดๆ ที่เหมือนกันทุกครั้งและทุกคน กระบวนการให้ความรู้ความเข้าใจไม่ได้ปรับตามลักษณะบุคคล รวมทั้งการสนับสนุนให้ประชาชนดูแลตนเองยังมีน้อย เห็นได้ว่ารูปแบบการดูแลผู้รับบริการที่ผ่านมา เรามักยึดบทของการเป็นผู้เชี่ยวชาญ จะวางแผนและเป้าหมายคิดวิธีการให้ผู้รับบริการปฏิบัติ คิดว่าเป็นสิ่งดีที่สุดสำหรับผู้รับบริการตามมุมมองของเราฝ่ายเดียว เรามักชินกับการสอน การสั่ง การชี้แนะ และให้คำแนะนำ เพื่อช่วยในการเปลี่ยนพฤติกรรม ทำให้ผู้รับบริการต่อต้าน ขาดความร่วมมือ และไม่เกิดแรงจูงใจในการเปลี่ยนแปลงพฤติกรรม นั่นเป็นสาเหตุที่ทำให้เราไม่สามารถช่วยในการเปลี่ยนพฤติกรรมได้สำเร็จ ซึ่งเราในฐานะที่เป็นบุคลากรสาธารณสุขมีหน้าที่ช่วยให้ประชาชนปรับเปลี่ยนพฤติกรรมเพื่อลดเสี่ยงลดโรคให้ได้ทำอย่างไรจึงจะช่วยให้คนเกิดความร่วมมือร่วมใจ มีความสามารถในการจัดการตนเอง (self management) มีแรงจูงใจ ตั้งมั่นที่จะเปลี่ยนพฤติกรรมได้ต่อเนื่อง
จากข้อมูลการคัดกรองความดันโลหิตสูงและระดับน้ำตาลในเลือดของประชาชนอายุ 35 ปี ขึ้นไปที่ยังไม่เคยป่วยเป็นโรคความดันโลหิตสูงและโรคเบาหวาน พบว่า ตำบลท่าสาป มีกลุ่มเสี่ยงโรคเบาหวาน จำนวน 55 คน แบ่งเป็นกลุ่มเสี่ยงต่ำ จำนวน 24 คน คิดเป็นร้อยละ 43.64 และกลุ่มเสี่ยงสูง 31 คน คิดเป็นร้อยละ 56.36 กลุ่มเสี่ยงโรคความดันโลหิตสูง จำนวน161 คน แบ่งเป็นกลุ่มเสี่ยงต่ำ จำนวน 91 คน คิดเป็นร้อยละ 56.52 และกลุ่มเสี่ยงสูง 70 คน คิดเป็นร้อยละ 43.48 ผลการประเมินพฤติกรรมเสี่ยง พบว่า ส่วนใหญ่กลุ่มเสี่ยงมีพฤติกรรมเสี่ยงตามลำดับ ดังนี้
อันดับ 1 กินอาหารแปรรูปหรือผ่านการถนอมอาหาร เช่น อาหารกระป๋อง อาหารกรุบกรอบ บะหมี่/โจ๊กกึ่งสำเร็จรูป อาหารหมักดอง อาหารตากแห้ง ปลาเค็ม ปลาร้า น้ำบูดู น้ำปู ไข่เค็ม
อันดับ 2 กินผักและผลไม้ต่อวันน้อยกว่า 5 สี เช่น เขียว เหลือง แดง ส้ม ม่วง ขาว เป็นประจำ
อันดับ 3 เคลื่อนไหวร่างกายหรือเล่นกีฬาน้อยกว่าครั้งละ 30 นาทีต่อวัน
ดังนั้น เพื่อให้ประชาชนกลุ่มวัยทำงานที่มีความเสี่ยงต่อการเป็นผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูงและโรคเบาหวาน ได้รับความรู้ แนวทางการปฏิบัติ เพื่อปรับเปลี่ยนความคิด ทัศนคติ และพฤติกรรม ไปสู่แนวทางการมีสุขภาพที่ดี โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลท่าสาป จึงจัดทำโครงการปรับความคิด เปลี่ยนพฤติกรรม ลดเสี่ยง ลดโรค ปีงบประมาณ 2563
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- 1. เพื่อให้กลุ่มเสี่ยงโรคความดันโลหิตสูงและโรคเบาหวาน ได้รับความรู้เกี่ยวกับการปฏิบัติตัวตามหลัก 3 อ 2 ส 2. เพื่อติดตามกลุ่มเสี่ยงโรคความดันโลหิตสูงให้มีความดันโลหิตที่อยู่ในเกณฑ์ที่ดีขึ้นตามเกณฑ์ปิงปอง 7 สี 3. เพื่อติดตามกลุ่มเสี่ยงโรคเบาหวานให้มีระดับน้ำตาลในเลือดที่อยู่ในเกณฑ์ที่ดีขึ้นตามเกณฑ์ปิงปอง 7 สี
กิจกรรม/การดำเนินงาน
- โครงการปรับความคิด เปลี่ยนพฤติกรรม ลดเสี่ยง ลดโรค ปีงบประมาณ 2563
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
1. ผู้ป่วยเบาหวานมีคุณภาพชีวิตที่ดี
2. โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลท่าสาปได้แนวทางในการดูแลผู้ป่วย
3. เกิดบุคคลต้นแบบในการดูแลสุขภาพ
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ ผลผลิต* ผลผลิตที่ตั้งไว้ ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ สถานการณ์ เป้าหมาย ผลผลิต อธิบาย
1
1. เพื่อให้กลุ่มเสี่ยงโรคความดันโลหิตสูงและโรคเบาหวาน ได้รับความรู้เกี่ยวกับการปฏิบัติตัวตามหลัก 3 อ 2 ส 2. เพื่อติดตามกลุ่มเสี่ยงโรคความดันโลหิตสูงให้มีความดันโลหิตที่อยู่ในเกณฑ์ที่ดีขึ้นตามเกณฑ์ปิงปอง 7 สี 3. เพื่อติดตามกลุ่มเสี่ยงโรคเบาหวานให้มีระดับน้ำตาลในเลือดที่อยู่ในเกณฑ์ที่ดีขึ้นตามเกณฑ์ปิงปอง 7 สี
ตัวชี้วัด : 1.ร้อยละ 80 ของผู้เข้าร่วมอบรม มีความรู้อยู่ในระดับดี
2. ร้อยละ 40 ของกลุ่มเสี่ยงโรคความดันโลหิตสูง มีความดันโลหิตที่อยู่ในเกณฑ์ที่ดีขึ้นตามเกณฑ์ปิงปอง 7 สี
3. ร้อยละ 40 ของกลุ่มเสี่ยงโรคเบาหวาน มีระดับน้ำตาลในเลือดที่อยู่ในเกณฑ์ที่ดีขึ้นตามเกณฑ์ปิงปอง 7 สี
0.00
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด
0
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
-
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
-
กลุ่มวัยทำงาน
-
กลุ่มผู้สูงอายุ
-
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
-
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
-
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
-
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
-
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
-
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) 1. เพื่อให้กลุ่มเสี่ยงโรคความดันโลหิตสูงและโรคเบาหวาน ได้รับความรู้เกี่ยวกับการปฏิบัติตัวตามหลัก 3 อ 2 ส 2. เพื่อติดตามกลุ่มเสี่ยงโรคความดันโลหิตสูงให้มีความดันโลหิตที่อยู่ในเกณฑ์ที่ดีขึ้นตามเกณฑ์ปิงปอง 7 สี 3. เพื่อติดตามกลุ่มเสี่ยงโรคเบาหวานให้มีระดับน้ำตาลในเลือดที่อยู่ในเกณฑ์ที่ดีขึ้นตามเกณฑ์ปิงปอง 7 สี
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) โครงการปรับความคิด เปลี่ยนพฤติกรรม ลดเสี่ยง ลดโรค ปีงบประมาณ 2563
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *- บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
- หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค สาเหตุ ข้อเสนอแนะ
โครงการ ปรับความคิด เปลี่ยนพฤติกรรม ลดเลี่ยง ลดโรค จังหวัด ยะลา
รหัสโครงการ 63 - L8412 -1-10
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
................................
( รพ.สต.ท่าสาป )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......
โครงการ
“ โครงการ ปรับความคิด เปลี่ยนพฤติกรรม ลดเลี่ยง ลดโรค ”
ตำบลท่าสาป อำเภอเมืองยะลา จังหวัดยะลา
หัวหน้าโครงการ
รพ.สต.ท่าสาป
กันยายน 2563
ที่อยู่ ตำบลท่าสาป อำเภอเมืองยะลา จังหวัดยะลา จังหวัด ยะลา
รหัสโครงการ 63 - L8412 -1-10 เลขที่ข้อตกลง 10/2563
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 พฤษภาคม 2563 ถึง 30 กันยายน 2563
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการ ปรับความคิด เปลี่ยนพฤติกรรม ลดเลี่ยง ลดโรค จังหวัดยะลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลท่าสาป อำเภอเมืองยะลา จังหวัดยะลา
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบลเทศบาลตำบลท่าสาป ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการ ปรับความคิด เปลี่ยนพฤติกรรม ลดเลี่ยง ลดโรค
บทคัดย่อ
โครงการ " โครงการ ปรับความคิด เปลี่ยนพฤติกรรม ลดเลี่ยง ลดโรค " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลท่าสาป อำเภอเมืองยะลา จังหวัดยะลา รหัสโครงการ 63 - L8412 -1-10 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 พฤษภาคม 2563 - 30 กันยายน 2563 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 29,200.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบลเทศบาลตำบลท่าสาป เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ | » |
บทคัดย่อ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล | » |
วัตถุประสงค์โครงการ | » |
กิจกรรม/การดำเนินงาน | » |
กลุ่มเป้าหมาย | » |
ผลลัพธ์ที่ได้ | » |
การประเมินผล | » |
ปัญหาและอุปสรรค | » |
ข้อเสนอแนะ | » |
เอกสารประกอบอื่นๆ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
จากบริบททางด้านเศรษฐกิจและสังคมที่เปลี่ยนแปลงไปภายใต้กระแสโลกาภิวัฒน์ ระบบทุนนิยม และเทคโนโลยีการสื่อสารไร้พรมแดน ทำให้คนไทยเปลี่ยนวิถีการดำเนินชีวิตเป็นแบบบริโภคนิยมมากขึ้น เกิดผลกระทบต่อสุขภาพทั้งทางร่างกาย จิตใจ อารมณ์ หรือมีพฤติกรรมสุขภาพที่ไม่เหมาะสม และทำลายสุขภาพ ได้แก่ ขาดการออกกำลังกายน้ำหนักตัวเกินสูบบุหรี่ ดื่มเหล้า กินอาหารไม่เหมาะสม เช่น อาหารหวาน มัน เค็ม กินผักน้อยลง ทำให้เกิดปัญหาสุขภาพจากโรคไม่ติดต่อหรือโรควิถีชีวิตที่สามารถป้องกันได้ที่มีแนวโน้มทวีความรุนแรงมากขึ้นซึ่งสถานการณ์ของโรคไม่ติดต่อในปัจจุบัน พบว่า สาเหตุการตายส่วนใหญ่ของคนไทย เกิดจากโรคไม่ติดต่อมากถึงร้อยละ 60 และสาเหตุหลักของโรคไม่ติดต่อ ส่วนใหญ่ร้อยละ90 เกิดจากพฤติกรรม
การลดเสี่ยงลดโรคไม่ติดต่อทำได้ด้วยการปรับเปลี่ยนวิถีชีวิตให้ห่างไกลจากปัจจัยเสี่ยง ได้แก่ 3อ.2ส. (อาหารออกกำลังกาย อารมณ์ สุรา สูบบุหรี่) โดยการดำเนินงานเพื่อควบคุมป้องกันโรคไม่ติดต่อในปัจจุบันพบว่า มีการคัดกรองกลุ่มเสี่ยงเกือบครอบคลุม แต่คัดกรองแล้วไม่มีการจัดการต่อในการปรับพฤติกรรมอย่างต่อเนื่อง ยังเน้นการจ่ายยาในโรงพยาบาลมากกว่าการดูแลผู้ป่วย ให้ความรู้เป็นชุดๆ ที่เหมือนกันทุกครั้งและทุกคน กระบวนการให้ความรู้ความเข้าใจไม่ได้ปรับตามลักษณะบุคคล รวมทั้งการสนับสนุนให้ประชาชนดูแลตนเองยังมีน้อย เห็นได้ว่ารูปแบบการดูแลผู้รับบริการที่ผ่านมา เรามักยึดบทของการเป็นผู้เชี่ยวชาญ จะวางแผนและเป้าหมายคิดวิธีการให้ผู้รับบริการปฏิบัติ คิดว่าเป็นสิ่งดีที่สุดสำหรับผู้รับบริการตามมุมมองของเราฝ่ายเดียว เรามักชินกับการสอน การสั่ง การชี้แนะ และให้คำแนะนำ เพื่อช่วยในการเปลี่ยนพฤติกรรม ทำให้ผู้รับบริการต่อต้าน ขาดความร่วมมือ และไม่เกิดแรงจูงใจในการเปลี่ยนแปลงพฤติกรรม นั่นเป็นสาเหตุที่ทำให้เราไม่สามารถช่วยในการเปลี่ยนพฤติกรรมได้สำเร็จ ซึ่งเราในฐานะที่เป็นบุคลากรสาธารณสุขมีหน้าที่ช่วยให้ประชาชนปรับเปลี่ยนพฤติกรรมเพื่อลดเสี่ยงลดโรคให้ได้ทำอย่างไรจึงจะช่วยให้คนเกิดความร่วมมือร่วมใจ มีความสามารถในการจัดการตนเอง (self management) มีแรงจูงใจ ตั้งมั่นที่จะเปลี่ยนพฤติกรรมได้ต่อเนื่อง
จากข้อมูลการคัดกรองความดันโลหิตสูงและระดับน้ำตาลในเลือดของประชาชนอายุ 35 ปี ขึ้นไปที่ยังไม่เคยป่วยเป็นโรคความดันโลหิตสูงและโรคเบาหวาน พบว่า ตำบลท่าสาป มีกลุ่มเสี่ยงโรคเบาหวาน จำนวน 55 คน แบ่งเป็นกลุ่มเสี่ยงต่ำ จำนวน 24 คน คิดเป็นร้อยละ 43.64 และกลุ่มเสี่ยงสูง 31 คน คิดเป็นร้อยละ 56.36 กลุ่มเสี่ยงโรคความดันโลหิตสูง จำนวน161 คน แบ่งเป็นกลุ่มเสี่ยงต่ำ จำนวน 91 คน คิดเป็นร้อยละ 56.52 และกลุ่มเสี่ยงสูง 70 คน คิดเป็นร้อยละ 43.48 ผลการประเมินพฤติกรรมเสี่ยง พบว่า ส่วนใหญ่กลุ่มเสี่ยงมีพฤติกรรมเสี่ยงตามลำดับ ดังนี้
อันดับ 1 กินอาหารแปรรูปหรือผ่านการถนอมอาหาร เช่น อาหารกระป๋อง อาหารกรุบกรอบ บะหมี่/โจ๊กกึ่งสำเร็จรูป อาหารหมักดอง อาหารตากแห้ง ปลาเค็ม ปลาร้า น้ำบูดู น้ำปู ไข่เค็ม
อันดับ 2 กินผักและผลไม้ต่อวันน้อยกว่า 5 สี เช่น เขียว เหลือง แดง ส้ม ม่วง ขาว เป็นประจำ
อันดับ 3 เคลื่อนไหวร่างกายหรือเล่นกีฬาน้อยกว่าครั้งละ 30 นาทีต่อวัน
ดังนั้น เพื่อให้ประชาชนกลุ่มวัยทำงานที่มีความเสี่ยงต่อการเป็นผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูงและโรคเบาหวาน ได้รับความรู้ แนวทางการปฏิบัติ เพื่อปรับเปลี่ยนความคิด ทัศนคติ และพฤติกรรม ไปสู่แนวทางการมีสุขภาพที่ดี โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลท่าสาป จึงจัดทำโครงการปรับความคิด เปลี่ยนพฤติกรรม ลดเสี่ยง ลดโรค ปีงบประมาณ 2563
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- 1. เพื่อให้กลุ่มเสี่ยงโรคความดันโลหิตสูงและโรคเบาหวาน ได้รับความรู้เกี่ยวกับการปฏิบัติตัวตามหลัก 3 อ 2 ส 2. เพื่อติดตามกลุ่มเสี่ยงโรคความดันโลหิตสูงให้มีความดันโลหิตที่อยู่ในเกณฑ์ที่ดีขึ้นตามเกณฑ์ปิงปอง 7 สี 3. เพื่อติดตามกลุ่มเสี่ยงโรคเบาหวานให้มีระดับน้ำตาลในเลือดที่อยู่ในเกณฑ์ที่ดีขึ้นตามเกณฑ์ปิงปอง 7 สี
กิจกรรม/การดำเนินงาน
- โครงการปรับความคิด เปลี่ยนพฤติกรรม ลดเสี่ยง ลดโรค ปีงบประมาณ 2563
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้ | |
---|---|---|
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | ||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | ||
กลุ่มวัยทำงาน | ||
กลุ่มผู้สูงอายุ | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | ||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | ||
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] |
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
1. ผู้ป่วยเบาหวานมีคุณภาพชีวิตที่ดี 2. โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลท่าสาปได้แนวทางในการดูแลผู้ป่วย 3. เกิดบุคคลต้นแบบในการดูแลสุขภาพ
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้ ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์** กิจกรรมของโครงการ | ผลผลิต* | |
---|---|---|
ผลผลิตที่ตั้งไว้ | ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง |
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ | สถานการณ์ | เป้าหมาย | ผลผลิต | อธิบาย | |
---|---|---|---|---|---|
1 | 1. เพื่อให้กลุ่มเสี่ยงโรคความดันโลหิตสูงและโรคเบาหวาน ได้รับความรู้เกี่ยวกับการปฏิบัติตัวตามหลัก 3 อ 2 ส 2. เพื่อติดตามกลุ่มเสี่ยงโรคความดันโลหิตสูงให้มีความดันโลหิตที่อยู่ในเกณฑ์ที่ดีขึ้นตามเกณฑ์ปิงปอง 7 สี 3. เพื่อติดตามกลุ่มเสี่ยงโรคเบาหวานให้มีระดับน้ำตาลในเลือดที่อยู่ในเกณฑ์ที่ดีขึ้นตามเกณฑ์ปิงปอง 7 สี ตัวชี้วัด : 1.ร้อยละ 80 ของผู้เข้าร่วมอบรม มีความรู้อยู่ในระดับดี 2. ร้อยละ 40 ของกลุ่มเสี่ยงโรคความดันโลหิตสูง มีความดันโลหิตที่อยู่ในเกณฑ์ที่ดีขึ้นตามเกณฑ์ปิงปอง 7 สี 3. ร้อยละ 40 ของกลุ่มเสี่ยงโรคเบาหวาน มีระดับน้ำตาลในเลือดที่อยู่ในเกณฑ์ที่ดีขึ้นตามเกณฑ์ปิงปอง 7 สี |
0.00 |
|
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
---|---|---|---|
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด | 0 | ||
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | |||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | - | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | - | ||
กลุ่มวัยทำงาน | - | ||
กลุ่มผู้สูงอายุ | - | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | |||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | - | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | - | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | - | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | - | ||
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] | - |
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) 1. เพื่อให้กลุ่มเสี่ยงโรคความดันโลหิตสูงและโรคเบาหวาน ได้รับความรู้เกี่ยวกับการปฏิบัติตัวตามหลัก 3 อ 2 ส 2. เพื่อติดตามกลุ่มเสี่ยงโรคความดันโลหิตสูงให้มีความดันโลหิตที่อยู่ในเกณฑ์ที่ดีขึ้นตามเกณฑ์ปิงปอง 7 สี 3. เพื่อติดตามกลุ่มเสี่ยงโรคเบาหวานให้มีระดับน้ำตาลในเลือดที่อยู่ในเกณฑ์ที่ดีขึ้นตามเกณฑ์ปิงปอง 7 สี
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) โครงการปรับความคิด เปลี่ยนพฤติกรรม ลดเสี่ยง ลดโรค ปีงบประมาณ 2563
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค | สาเหตุ | ข้อเสนอแนะ |
---|---|---|
|
|
|
โครงการ ปรับความคิด เปลี่ยนพฤติกรรม ลดเลี่ยง ลดโรค จังหวัด ยะลา
รหัสโครงการ 63 - L8412 -1-10
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
( รพ.สต.ท่าสาป )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......