กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.บาเจาะ


“ โครงการเสริมสร้างความเข้าใจเด็กน้อยสุขภาพดีห่างไกลโรค ”

ตำบลบาเจาะ อำเภอบันนังสตา จังหวัดยะลา

หัวหน้าโครงการ
นายสันต์เดะแอ

ชื่อโครงการ โครงการเสริมสร้างความเข้าใจเด็กน้อยสุขภาพดีห่างไกลโรค

ที่อยู่ ตำบลบาเจาะ อำเภอบันนังสตา จังหวัดยะลา จังหวัด ยะลา

รหัสโครงการ 59-L4127-1-07 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 มีนาคม 2559 ถึง 30 กันยายน 2559


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการเสริมสร้างความเข้าใจเด็กน้อยสุขภาพดีห่างไกลโรค จังหวัดยะลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลบาเจาะ อำเภอบันนังสตา จังหวัดยะลา

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.บาเจาะ ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการเสริมสร้างความเข้าใจเด็กน้อยสุขภาพดีห่างไกลโรค



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการเสริมสร้างความเข้าใจเด็กน้อยสุขภาพดีห่างไกลโรค " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลบาเจาะ อำเภอบันนังสตา จังหวัดยะลา รหัสโครงการ 59-L4127-1-07 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 มีนาคม 2559 - 30 กันยายน 2559 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 34,800.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.บาเจาะ เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

ในแต่ละปีมนุษย์ต้องเจ็บปวดจากโรคติดเชื้อเป็นจำนวนมาก แม้บางโรคจะสามารถรักษาให้เหายได้ แต่ก็ต้องเสียด้านเศรษฐกิจเป็นค่าใช้จ่ายในการรักษาพยาบาล และสูญเสียด้านครอบครัวซึ่งเป็นโอกาสในการหารายได้จากการทำงาน องค์การอนามัยโลกจึงได้เรียกร้องให้ประเทศต่างๆ ดำเนินมาตรการป้องกันการแพร่ระบาดของโรคติดเชื้ เพราะเป็นวิธีที่เสียค่าใช้จ่ายน้อยกว่าการรักษาพยาบาลผู้ป่วย ประเทศไทยจึงได้ดำเนินมาตรการป ้องกันการแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อ โดยเน้นการเสริมสร้างภูมิคุ้มกันโรคในเด็กด้วยวัดซีน เพื่อให้ร่างกายสรางภูมิคุ้มต้านทานโรคขึ้นมาเอง อันจะช่วยลดโอกาสในการเจ็บป่วยจากโรคติดเชื้อต่างๆ ได้ ซึ่งกระทรวงสาธารณสุขได้กำหนดให้มีบริการฉีดวัดซีนป้องกันโรคติดเชื้อในเด็ก จำนวน 10 โรค ได้แก่ โรคหัด หัดเยอรมัน โปลิโอ คางทูม ไข้สมองอักเสบ ตับอักเสบ คอตีบ ไอกรน บาดทะยักและวัณโรค และมีการส่งเสริมด้านโภชนาการ การใิห้ความรู้และตรวจสุขภาพในช่องปากในเด็ก 0 - 5 ปี แก่คอบครัว พ่อแม่ และผู้ปกครองกลุ่มเป้าหมายเพื่อให้สอดคล้องกับงานด้านบริการสร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรคและเป็นการพัฒนาแบบบูรณาการ แตในปัจจุบันประชาชนในเขตพื้นที่ รพ.สต. บาเจาะ กให้ความสำคัญของการป้องกันโรคด้วยวัดซีนน้อยมากดังเห็นได้จาก ปีงบประมาณ 2558 มีความครอบคลุมของการรับวัดซีนในเด็กอายุ 0 - 5 ปี เพียงร้อยละ 82.15 ซึ่งเป้าหมายความครอบคลมของวัดซีนต้องมากกว่าร้อยละ 90 จึงสามารถป้องกันและควบคมโรคได้ทำให้ประชาชนป่วยด้วยโรคทีป้องกัันได้ด้วยวัดซีนเพิ่มขึ้น ฉะนั้นการเร่งรัดติดตามให้ประชากรกลุ่มเป้าหมายทุกคนได้รับการฉีดวัดซีนให้ครอบคลุมตามแผนที่วางไว้จึงเป็นสิ่งสำคัญที่จะต้องดำเนินการตั้งแต่ครอบครัว วึ่งการบริการสร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรคจะต้องจัดให้แก่ประชาชนด้วยความสะดวก และปลอดภัย การให้บริการด้านโภชนาการ โดยการชั่งน้ำหนัก วัดส่วนสูง และติดตามเด็กที่มีดปัญหาโภชนาการต่ำกว่าเกณฑ์ การให้ความรู้และตรวจสุขภาพในช่องปาก งานสร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรค ต้องดำเนินการให้ครอบคลุมประชากรเป้าหมายในระดับสูงที่สุดและมีความต่อเนื่องตลอดไป งานสร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรคจะพยายามป้องกันประชาชนจากโรคที่ป้องกันได้ด้วยวัดซีนให้ได้มากที่สุด โดยการเพิ่มชนิดของวัดซีนที่ใช้ ทั้งนี้โดยความเหมาะสมกับสถานการณ์ทางระบายวิทยาของโรค และกำลังทรัพยากรด้านสาธารณสุขของประเทศและต้องดำเนินการในทุกพื้นที่โดยประสานสอดคล้องกับแผนงานหรือโครงการด้านสาธารรสุขอื่นๆ เช่น งานอนามัยโรงเรียน งานโภชนาการ งานทันตสาธารรสุข งานป้องกันและควบคุมโรคติดต่ออื่นๆ ทั้งนี้ เพื่อให้ทุกงานที่เกี่ยวข้องมีประสิทธิภาพสูงที่สุด และเกิดประโยชน์สูงสุดแก่ประชาชน ฉะนั้น เพื่อให้การดำเนินงานบรรลุเป้าหมายตามแผนฯ จึงจำเป็นต้องดำเนินการเร่งรัด ติดตามเด็กตามกลุ่มเป้าหมายให้มารับบริการฉีดวัดซีนทุกคน เพื่อการป้องกันโรคที่อาจจะเกิดขึ้นกับประชากรกลุ่มอายุ ดังกล่าวในอนาคตต่อไป

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. 1. เพื่อให้ผู้ปกครองเด็ก 0 - 5 ปี มีความรู้ความเข้าใจเรื่องวัดซีนที่ถูกต้องและเหมาะสม
  2. 2. เพื่อป้องกันการเกิดโรคที่สามารถป้องกันด้วยวัดซีน
  3. 3. เพื่อให้เด็ก 0 - 5 ปี ได้รับการสร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรคเพิมขึ้น
  4. 4. เพื่อให้เด็กที่ไม่ได้มารับวัดซีนครบตามเกณฑ์ได้รับการติดตามอย่างต่อเนื่อง

กิจกรรม/การดำเนินงาน

    กลุ่มเป้าหมาย

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
    กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
    กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 100
    กลุ่มวัยทำงาน
    กลุ่มผู้สูงอายุ
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
    กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
    กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
    กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
    กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
    สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

    ผลที่คาดว่าจะได้รับ

    1. อัตราป่วยด้วยโรคที่ป้องกันได้ด้วยวัดซีนลดลง
    2. เด็กอายุ 0 - 5 ปี ในเขตรับผิดชอบได้รับการสร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรคเพิ่มขึ้นจากปีที่ผ่านมา ร้อยละ 10
    3. เด็กอายุ 0 - 5 ปี ในเขตรับผิดชอบมีสุขภาพดี ต้านโภชนาการเพิ่มขึ้น
    4. ผู้ปกครองมีความรู้เกี่ยวกับวัดซีน การตรวจสุขภาพในช่องปากและเกิดความตระหนักในการพาลูกมารับบริการฉีดวัดซีนตามเกณฑ์ และเข้าถึงการบริการด้านโภชนาการของรัฐมากขึ้น

    ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

    วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
    ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
    กิจกรรมของโครงการ
    ผลผลิต*
    ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

    * ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
    ** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


    ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

    ผลการดำเนินโครงการ

    สรุปผลการดำเนินโครงการ

    ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
    บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
    บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
    ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

     

    ผลผลิตโครงการ

    วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
    1 1. เพื่อให้ผู้ปกครองเด็ก 0 - 5 ปี มีความรู้ความเข้าใจเรื่องวัดซีนที่ถูกต้องและเหมาะสม
    ตัวชี้วัด : ร้อยละของผู้ปกครองเด็ก 0 - 5 ปี มีความรู้ความเข้าใจเรื่องวัดซีนที่ถูกต้องและเหมาะสม

     

    2 2. เพื่อป้องกันการเกิดโรคที่สามารถป้องกันด้วยวัดซีน
    ตัวชี้วัด : ร้อยละของการป้องกันการเกิดโรคที่สามารถป้องกันด้วยวัดซีน

     

    3 3. เพื่อให้เด็ก 0 - 5 ปี ได้รับการสร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรคเพิมขึ้น
    ตัวชี้วัด : ร้อยละของเด็ก 0 - 5 ปี ได้รับการสร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรคเพิมขึ้น

     

    4 4. เพื่อให้เด็กที่ไม่ได้มารับวัดซีนครบตามเกณฑ์ได้รับการติดตามอย่างต่อเนื่อง
    ตัวชี้วัด : ร้อยละของเด็กที่ได้รับวัดซีนครบตามเกณฑ์ได้รับการติดตามอย่างต่อเนื่อง

     

    ผู้เข้าร่วมโครงการ

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 100
    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
    กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
    กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 100
    กลุ่มวัยทำงาน -
    กลุ่มผู้สูงอายุ -
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
    กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
    กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
    กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
    กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
    สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

    บทคัดย่อ*

    โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) 1. เพื่อให้ผู้ปกครองเด็ก 0 - 5 ปี มีความรู้ความเข้าใจเรื่องวัดซีนที่ถูกต้องและเหมาะสม (2) 2. เพื่อป้องกันการเกิดโรคที่สามารถป้องกันด้วยวัดซีน (3) 3. เพื่อให้เด็ก 0 - 5 ปี ได้รับการสร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรคเพิมขึ้น (4) 4. เพื่อให้เด็กที่ไม่ได้มารับวัดซีนครบตามเกณฑ์ได้รับการติดตามอย่างต่อเนื่อง

    ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่

    ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

    หมายเหตุ *

    • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
    • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

    ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

    ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

     

     

     


    โครงการเสริมสร้างความเข้าใจเด็กน้อยสุขภาพดีห่างไกลโรค จังหวัด ยะลา

    รหัสโครงการ 59-L4127-1-07

    ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

    ................................
    ( นายสันต์เดะแอ )
    ผู้รับผิดชอบโครงการ
    ......./............/.......

    vertical_align_topไปบนสุด